f สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2
[x] ปิดหน้าต่างนี้
T&T-2018 All rights reserved ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ สพป.ตรัง เขต 2.

เรื่อง : รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) โรงเรียนบ้านหนองมวง
ผู้เขียน : โรงเรียนบ้านหนองมวง
วันที่   15   พฤษภาคม   2566
เข้าชม : 152
Bookmark and Share


 



รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

(Self – Assessment Report : SAR)

 

 

 

 

 

 

 

 

โรงเรียนบ้านหนองมวง

ตำบลควนเมา  อำเภอรัษฎา  จังหวัดตรัง

 
 

 


สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ


บทสรุปของผู้บริหาร

ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา

ชื่อโรงเรียน บ้านหนองมวง  ที่อยู่ 62  หมู่ที่ 5  ตำบลควนเมา  อำเภอรัษฎา  จังหวัดตรัง 92160                 ชื่อผู้บริหารโรงเรียน นางสารภี สมจิตต์ (รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยโรงเรียน) เบอร์โทรศัพท์  095- 405 3019 จำนวนครู 10 คน  จำแนกเป็นข้าราชการครู 5 คน พนักงานราชการ - คน  ครูอัตราจ้าง 3 คน  เจ้าหน้าที่อื่นๆ 2 คน จำนวนนักเรียน  รวม  ๗๗ คน  จำแนกเป็นระดับอนุบาล  ๒๕  คนระดับประถมศึกษา  5๒  คน

ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

๑.     ระดับการศึกษาปฐมวัย

          มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก  มีผลการประเมินอยู่ในระดับ  ดีเลิศ

กระบวนการพัฒนา

          สถานศึกษามีการจัดประสบการณ์ในลักษณะการบูรณาการตามหน่วยการเรียนรู้ จัดกิจกรรมตามตารางกิจกรรมประจำวันและดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ในส่วนด้านร่างกาย ที่สมบูรณ์ แข็งแรง เจริญเติบโตสมวัย  โดยจะเน้นกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านการเล่นของเด็ก  โดยการลงมือปฏิบัติจริง การวิ่ง กระโดด  จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพและการออกกำลังกาย  ฝึกการนันทนาการ การส่งเสริมสุขภาพอนามัย โดยการตรวจสุขภาพประจำวัน  ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง        ภาคเรียนละ  2 ครั้ง ปีการศึกษาละ ๔ ครั้ง

          มีการจัดป้ายนิเทศให้ความรู้แก่เด็กเกี่ยวกับโรคติดต่อต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน  โรคติดต่อที่เกิดขึ้นในชุมชน อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นได้ในชีวิตประจำวัน มีการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด  มีการจัดกิจกรรมสุขภาพดีมีสุข เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายให้กับเด็ก และได้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลควนเมา ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก  การรับการดูแลในช่องปาก การเคลือบฟลูออไรด์ การฉีดวัคซีนเป็นต้น ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ดูแลการรับประทานอาหารกลางวัน การดื่มนม เพื่อให้เด็กมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข  โภชนาการ  ล้างมือหลังจากเข้าห้องน้ำ ห้องส้วมทุกครั้ง แปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน  การดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ได้เหมาะสม  ตามวัย และการปฏิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับความปลอดภัย  หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ โรคต่างๆ และสารเสพติด

มีกิจกรรมหนูน้อยระวังภัยห่างไกลยาเสพติด สถานศึกษามีการจัดหา อุปกรณ์ ซ่อมแซมสนามเด็กเล่นให้มีความปลอดภัย สะดวก พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา ไม่มีจุดที่เป็นอันตราย มีกฎ กติกา ข้อตกลงในการดูแลตนเองให้ปลอดภัย หลีกเลี่ยงจากอันตราย  

ผลที่เกิดจากการพัฒนา

          ๑) เด็กร้อยละ 100 มีน้ำหนัก สวนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน เคลื่อนไหวร่างกาย คล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดีใช้มือและตาประสานสัมพันธ์ได้ดีดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย

          2) เด็กร้อยละ 100  สามารถรู้จักและป้องกันตัวเอง จากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา -  19 ได้ มีสุขลักษณะนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร การใช้ชีวิตประจำวัน

         

          3) เด็กร้อยละ 100 สามารถปฏิบัติตนตามข้อตกลงเกี่ยวกับความปลอดภัย หลีกเสี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด และระวังภัยจากบุคคลภายนอก สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย

          ๔) เด็กร้อยละ 100 ร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้เหมาะสมกับวัย  รู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความ สามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น มีจิตสำนึกและค่านิยม ดีมีความ มั่นใจกล้าพูด กล้าแสดงออกช่วยเหลือแบ่งปัน เคารพสิทธิรู้หน้าที่รับผิดชอบอดทน  อดกลั้น ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม จริยธรรมตามที่สถาน ศึกษากำหนดชื่นชมและมีความ สุขกับศิลปะ ดนตรีและการเคลื่อนไหว

          ๕) เด็กร้อยละ 100 ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันมีวินัยในตนเอง ประหยัดและพอเพียง มี ส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในและนอกห้องเรียน มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้การยิ้ม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ เป็นต้น ยอมรับหรือเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ความคิด พฤติกรรม พื้นฐานครอบครัวเชื้อชาติศาสนา วัฒนธรรม เป็นต้น เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

          ๖) เด็กร้อยละ 100 สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และการช่วยเหลือผู้ปกครอง

          ๗) เด็กร้อยละ 100 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้  ระดับดีขึ้นไปรู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความ สามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น มีจิตสำนึกและค่านิยม ดีมีความ มั่นใจกล้าพูด กล้าแสดงออก

          ๘) เด็กร้อยละ 100 ได้ฝึกคิด การพัฒนาภาษา สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจตั้งคำถามในสิ่งที่ตนเองสนใจหรือสงสัย และ พยายามค้นหาคำตอบ อ่านนิทานและเล่าเรื่องที่ตนเองอ่านได้เหมาะสมกับวัย

 

จุดเด่น

          เด็กมีร่างกายเติบโตตามวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย สามารถดูแลสุขภาพและหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ที่พึงประสงค์ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข  มีอารมณ์แจ่มใส ร่าเริง สนุกสนาน ร่วมกิจกรรมอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีสติปัญญาเรียนรู้ได้ตามกิจกรรมประจำวันอย่างดี มีหลักสูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัย โรงเรียนบ้านหนองมวง พุทธศักราช 2565  (ที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ครูมีความรู้ความสามารถได้รับการพัฒนาด้านวิชาชีพร้อยละ 100 อย่างน้อย ๒๐ ชม.: ปี  การจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้  ระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมตามบทบาทและหน้าที่  พร้อมส่งเสริมและพัฒนาครูปฐมวัยในการนำวิธีการใหม่ๆ มาใช้จัดกิจกรรมการวิจัยเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะ     การนำสื่อและเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ จัดซื้อสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กรอบด้านให้มากขึ้นและเพียงพอต่อความต้องการ และจัดทำระบบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ถูกต้อง ครอบคลุมทันสมัยพร้อมใช้งาน จัดให้มี การตรวจสอบ ประเมินผล จัดทำรายงานเพื่อปรับปรุง พัฒนาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ และจัดครูให้เพียงพอต่อชั้นเรียน

 

จุดที่ควรพัฒนา

1. ด้านการมีความคิดรวบยอด จากการทำกิจกรรม

2. การทำกิจกรรมเสริมสติปัญญาให้เหมาะสมตามวัย

3. การพัฒนา ปลูกฝังในเรื่องสุขนิสัยที่ดี เช่น การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร ล้างมือก่อนออกจากห้องน้ำ ห้องส้วม และการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ให้เป็นนิสัย

4. การยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ

5. การใช้คำพูดขอบคุณ ขอโทษ

6. การใช้วาจาสุภาพเหมาะสมกับวัย

7. จัดซื้อสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กรอบด้านให้มากขึ้นและเพียงพอต่อความต้องการโดยเฉพาะเครื่องเล่นสนาม

8. จัดทำระบบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ถูกต้อง ครอบคลุมทันสมัยพร้อมใช้งาน จัดให้มี การตรวจสอบ ประเมินผล จัดทำรายงานเพื่อปรับปรุง พัฒนาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ  มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ดีเลิศ

กระบวนการพัฒนา

               โรงเรียนจัดทำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยครอบคลุมพัฒนาการผู้เรียนทั้ง 4 ด้านสอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น จัดทำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ปฐมวัย  และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด บริบทของท้องถิ่นและนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ  โดยเป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้าน  ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์  จิตใจ สังคม และสติปัญญา  เพื่อให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้ มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีศักยภาพ  โดยการเข้ารับ การอบรมโดยจักกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน การศึกษานอกสถานที่ เช่น วัด ชุมชน เป็นต้น

               โรงเรียนจัดทำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยครอบคลุมพัฒนาการผู้เรียนทั้ง 4 ด้าน โดยการออกแบบแผนการจัดประสบการณ์ในสอดคล้องกับบริบทโรงเรียน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้าน  ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์  จิตใจ สังคม และสติปัญญา  เพื่อให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ชุมชน ผู้ปกครอง คณะครู นักเรียน เข้ามามีส่วนร่วมในการประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย เพื่อร่วมกันปรับปรุงพัฒนา และจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับความต้องการและบริบทของสถานศึกษา มีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและผู้ปกครอง อย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง เพื่อระดมความคิดในการวางแผนการดำเนินงานของสถานศึกษา ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย และแก้ไขปัญหาเด็กปฐมวัยผ่านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและการออกเยี่ยมบ้านเด็กปฐมวัย ดำเนินการภาคเรียนละ ๑ ครั้ง หรือเมื่อพบเจอปัญหา  ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง  มีส่วนร่วมในการระดมทรัพยากร เช่น สื่อการเรียนรู้ งบประมาณในการปรับปรุง ซ่อมแซมสถานที่ต่าง ๆ ในโรงเรียน

  

 

 

ผลที่เกิดจากการพัฒนา

          ๑) สถานศึกษาดำเนินการบริหารและจัดการสถานศึกษาได้ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัยโรงเรียนบ้านหนองมวง  ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐  บริบทของท้องถิ่น และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ

          2) สถานศึกษาดำเนินการบริหารและจัดการสถานศึกษา ที่ครอบคลุมด้านวิชาการ ด้านครูและบุคลากรด้านข้อมูลสารสนเทศด้านสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ และด้านระบบประกันคุณภาพภายใน

          ๓) พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ ในการวิเคราะห์และ มีทักษะในการจัด ประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็ก   

          ๔) ครูปฐมวัยได้รับการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 20 ชั่วโมงต่อปี มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านการการจัดประสบการณ์และออกแบบกิจกรรม ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการที่สมบูรณ์ทั้ง 4 ด้าน บรรลุตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา    

          ๕) สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก ห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัย ไม่มีมลพิษ มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย  

          ๖) สื่อด้านเทคโนโลยีสารสนเทศไว้บริการ  สอดคล้องกับหน่วยการจัดประสบการณ์  โดยเด็กมี ส่วนร่วมในการประดิษฐ์สื่อ นวัตกรรม ส่งผลให้การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ บรรลุตามจุดประสงค์การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้ดี

          ๗) มีมุมประสบการณ์หลาก หลาย มีสื่อ การเรียนรู้ เช่น ของเล่น หนังสือนิทาน สื่อจากธรรมชาติ สื่อเทคโนโลยี ส่งผลให้การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ บรรลุตามจุดประสงค์การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้ดี

          ๘) การจัดกิจกรรมและดำเนินโครงการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน และคณะกรรมการโรงเรียนขั้นพื้นฐาน มีการจัดการอย่างเป็นระบบ

          ๙) ระบบการบริหารและจัดการของสถานศึกษามีคุณภาพ ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมตามบทบาทได้อย่างเหมาะสมตามหลักธรรมาภิบาล

จุดเด่น

          มีหลักสูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัย โรงเรียนบ้านหนองมวง พุทธศักราช 2564  (ที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ครูมีความรู้ความสามารถได้รับการพัฒนาด้านวิชาชีพร้อยละ 100 อย่างน้อย ๒๐ ชม.: ปี  การจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้  ระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมตามบทบาทและหน้าที่

จุดที่ควรพัฒนา

ส่งเสริมและพัฒนาครูปฐมวัยในการนำวิธีการใหม่ๆ มาจัดกิจกรรม ให้ครูทำวิจัยในชั้นเรียน           เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรภายนอก

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น (ระบุแผนงานโครงการ/กิจกรรม)

          1. จัดทำแผนพัฒนาครูเพื่อยกระดับความสามารถในการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย /การจัดประสบการณ์การเรียนรู้

          2. จัดทำแผนการนิเทศ ติดตาม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูอย่างเป็นระบบ  

          3. พัฒนาระบบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้เป็นระบบ เพียงพอ

          ๔. จัดทำแผนพัฒนาครูให้เพียงพอต่อชั้นเรียน

          ๕. จัดทำแผนพัฒนาครูเพื่อยกระดับความสามารถในการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย /การจัดประสบการณ์การเรียนรู้

           ๖. จัดทำแผนการนิเทศ ติดตาม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูอย่างเป็นระบบ  

           ๗. จัดทำแผนพัฒนาครูเพื่อยกระดับความสามารถในการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย /การจัดประสบการณ์การเรียนรู้

           ๘. จัดทำแผนการส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนและการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลระดับปฐมวัย/กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความพร้อมของเด็กปฐมวัย สื่อ นวัตกรรม

           ๙. จัดทำแผนการส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนและการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลระดับปฐมวัย/กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความพร้อมของเด็กปฐมวัย สื่อ นวัตกรรม

         ๑๐. จัดทำแผนการนิเทศ ติดตาม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูอย่างเป็นระบบ  

         ๑๑. พัฒนาระบบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้เป็นระบบ เพียงพอ

         1. จัดประชุมคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

         ๑๓. จัดประชุมผู้ปกครองนักเรียน

         ๑๔. จัดทำแผนพัฒนาครูเพื่อยกระดับความสามารถในการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย

 

มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ  มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ดีเลิศ

กระบวนการพัฒนา

          สถานศึกษาจัดการศึกษาระดับปฐมวัยที่มุ่งเน้นความสำคัญของการพัฒนาการในทุกๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา  มีความรู้  คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต มีการวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด  จัดทำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทุกหน่วยการเรียนรู้ที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้าน มีการจัดการศึกษาปฐมวัยมุ่งเน้นความสำคัญของการพัฒนาการในทุกๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต โดยจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้และดึงดูดความสนใจของเด็ก  แสงสว่างเพียงพอ สะอาด ปลอดภัย มีพื้นที่สำหรับการจัดกิจกรรมที่เหมาะสม บรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น  ความเห็นอกเห็นใจ มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกันและกัน จัดให้มีมุมต่างๆ เช่น มุมศิลปะ มุมดนตรี มุมวิทยาศาสตร์ มุมบทบาทสมมติ มุมเสริมสวย มุมนิทาน โดยเปิดโอกาสให้เด็กเข้ามามีส่วนร่วมในการเรียนรู้จากมุมต่างๆ รวมถึงการดูแลรักษาทำความสะอาดของเล่น จัดป้ายนิเทศ แสดงความรู้และแสดงผลงาน แบ่งกลุ่ม ห้องเรียนมีบรรยากาศ แจ่มใส กว้างขวางพอเหมาะ มีมุมส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ มีการตกแต่งห้องเรียนให้สดใส และมีสื่อการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์การเรียนการสอน

ผลที่เกิดจากการพัฒนา

          ๑. ครูร้อยละ 100 วิเคราะห์ ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล จัดทำแผนการจัดประสบการณ์ จากการวิเคราะห์มาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษาโดยมีกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้านทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์/จิตใจ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา

          ๒. เด็กมีโอกาสเลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระ ตามความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล หลาก หลายรูปแบบจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เด็กได้เลือกเล่น เรียนรู้ ลงมือ กระทำ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง

          ๓. ครูจัดประสบการณ์ที่เชื่อมโยง กับประสบการณ์เดิมให้ เด็กมีโอกาสเลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระ ตามความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคลหลากหลายรูปแบบจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เด็กได้เลือกเล่นเรียนรู้ ลงมือกระทำและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง

๔. ครูห้องเรียนให้สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพื้นที่แสดงผลงานเด็กพื้นที่สําหรับมุมประสบการณ์และการจัดกิจกรรม โดยเด็กมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน

          ๕. ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตร ประจำวันด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย การประเมินพัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วม และนำผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็ก   

          ๖. ประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจำวันด้วยเครื่องมือที่หลากหลาย หลากหลาย การประเมินพัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วม และนำผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็ก

         

จุดเด่น

         เด็กมีพัฒนาการทั้ง  4  ด้านตามวัย  บรรลุตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด  สภาพแวดล้อม บรรยากาศ สภาพห้องเรียน เอื้อต่อการเรียนรู้และปลอดภัย .ครูมีการประเมินพัฒนาการเด็กด้วยวิธีการที่หลากหลาย

จุดที่ควรพัฒนา

           อุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอนที่เป็นสื่อเทคโนโลยี ที่เพียงพอสำหรับเด็กปฐมวัย

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

               1. จัดทำแผนงาน/โครงการส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนและการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลระดับปฐมวัยทั้ง 4 ด้าน

               2. จัดทำแผนงาน/โครงการพัฒนาครูในด้านสื่อ และเทคโนโลยี

               3. จัดทำแผนงาน/โครงการส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนและการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลระดับปฐมวัยทั้ง 4 ด้าน

               4. จัดทำแผนงาน/โครงการพัฒนาครูในด้านสื่อ และเทคโนโลยี

               5. จัดทำแผนงาน/โครงการส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนและการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลระดับปฐมวัยทั้ง 4 ด้าน

               6. จัดทำแผนงาน/โครงการพัฒนาครูในด้านสื่อ และเทคโนโลยี

               7. พัฒนาเครื่องเล่นสนาม โดยการจัดทำ จัดซื้อให้เพียงพอกับความต้องการของเด็ก

               8. จัดทำแผนงาน/โครงการส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนและการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลระดับปฐมวัยทั้ง 4 ด้าน

สรุปผลการประเมินในภาพรวม อยู่ในระดับคุณภาพ ดีเลิศ

 

 

 

 

๒.ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนผลการประเมินอยู่ในระดับ  ดีเลิศ

กระบวนการพัฒนา

โรงเรียนบ้านหนองมวงส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียน   เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข ดังนั้น โรงเรียนบ้านหนองมวงจึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียนจำนวน     2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ 2) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ด้านผลสัมฤทธิ์ทาง    การเรียนให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ รวมทั้งการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม  หลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างวิจารณญาณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และการมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ สำหรับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามสถานศึกษากำหนด และมีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

ผลที่เกิดจากการพัฒนา

๑. นักเรียนได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย

๒. นักเรียนอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข ซึ่งสอดรับกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศึกราช 2551 ที่ได้มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข

๓. นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ รวมทั้งการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างวิจารณญาณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และการมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ

๔. นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยมที่ดีตามสถานศึกษากำหนด และ มีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

จุดเด่น

สถานศึกษามีโครงการ กิจกรรม อย่างหลากหลายในการพัฒนาผู้เรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น มีความรู้ ความสามารถตามสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน โดยเฉพาะทักษะชีวิต มีเจตคติที่ดีต่อการเรียน การประกอบอาชีพ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด

จุดที่ควรพัฒนา

          โรงเรียนควรจัดเตรียมสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลายให้เพียงพอและเหมาะสมต่อการเรียนรู้ทุกระดับและปรับให้เข้ากับสถานการณ์ในปัจจุบัน

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น (ระบุแผนงานโครงการ/กิจกรรม)

1)      พัฒนาให้นักเรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณเป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนดทุกระดับชั้น

2)      พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดจำแนก แยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล

3)      พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ทั้งด้วยตนเองและการทำงานเป็นทีม เชื่อมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ

4)      พัฒนาให้นักเรียน มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง และสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม

5)      พัฒนาให้นักเรียนมีค่านิยมและจิตสำนึกตามที่สถานศึกษามีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปัญญาไทย

6)      พัฒนาให้นักเรียน มีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม แสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย                      

 

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ  มีผลการประเมินอยู่ในระดับ  ยอดเยี่ยม

กระบวนการพัฒนา

  เพื่อให้บรรลุตามกระบวนการบริหารและการจัดการคุณภาพของสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านหนองมวง        สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดเน้นและยุทธศาสตร์ของ โรงเรียน ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ตามแนวทางการปฏิรูปตามแผนการ ศึกษาชาติ มีแผนพัฒนาการศึกษาโรงเรียน แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับการพัฒนาทุกกลุ่มเป้าหมาย สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษา โดยมี ผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รับทราบในการพัฒนาและมีส่วน รับผิดชอบ

        สถานศึกษาได้ดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถทางด้านวิชาชีพตามความต้องการของครูและสถานศึกษา จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียนบ้านหนองมวง ทำให้นักเรียนมีคุณภาพตามความมุ่งหมายของหลักสูตรสถานศึกษา มีความปลอดภัยในการใช้ชีวิตในโรงเรียน  มีทักษะทางวิชาชีพ สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข

ผลที่เกิดจากการพัฒนา

1) สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดเน้นและยุทธศาสตร์ของ โรงเรียน ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ตามแนวทางการปฏิรูปตามแผนการ ศึกษาชาติ

2) มีแผนพัฒนาการศึกษาโรงเรียน แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับการพัฒนาทุกกลุ่มเป้าหมาย สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษา โดยมี ผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รับทราบในการพัฒนาและมีส่วน รับผิดชอบ

          3) ข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้องครบถ้วน มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบ

          4) สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียน แผนปฏิบัติการ ประจำปีสอดคล้องกับสภาพปัญหา สอดคล้องกับนโยบายการปฏิรูปการศึกษา

          5) ผู้บริหารมีรูปแบบการบริหารที่เป็นระบบโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลัก ธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

          6) มีสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่กระตุ้นให้ผู้เรียนใฝ่เรียนรู้ อาคาร สถานที่เหมาะสมต่อการจัดการศึกษา สะอาดปลอดภัย และมีการใช้พื้นที่ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เช่น สนามฟุตบอล สนามวอลเลย์บอล มีการปรับปรุงห้องน้ำนักเรียนให้สะอาดสวยงามและเพียงพอ มี โรงอาหารสะอาดถูกสุขลักษณะ มีการตรวจคุณภาพอาหารทุกวัน

          7) สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพจากเครือข่าย ในการร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน

          8) สถานศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัด การศึกษาที่เหมาะสม

          9) มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของโรงเรียนที่ชัดเจน มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน โดยความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีการนำข้อมูลมาใช้ ในการปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง และเป็นแบบอย่างได้

          1๐) โรงเรียนจัดระบบการจัดหาการพัฒนาและการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการจัดการ เรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา โรงเรียนจัดให้มีการใช้เทคโนโลยีอย่างเป็นระบบ มีสื่อและ แหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูล จัดทำรายงาน และการเรียน ออนไลน์ในช่วงสถานการณ์โควิดได้

จุดเด่น

โรงเรียนมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ที่กำหนดไว้ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของ โรงเรียนตามความต้องการของชุมชน มีระบบกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เป็นระบบมีประสิทธิภาพและมีการบริหาร จัดการของผู้บริหารมีนวัตกรรมการบริหารที่มีคุณภาพทุกกลุ่มบริหาร รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมและปลูกฝัง ให้ผู้เรียนเป็นทั้งคนเก่งและคนดี พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความเชี่ยวชาญตรงตามความต้องการ ให้สามารถสร้างและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มีวัตถุประสงค์ของแผนการจัดการศึกษาของชาติ นโยบายของ รัฐบาลและต้นสังกัด ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม พัฒนางานวิชาการเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน โรงเรียนบ้านหนองมวง มีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ โรงเรียนบ้านหนองมวง ได้ใช้เทคนิคการประชุมที่หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุม กลุ่ม เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองมวง ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตามประเมินผล การดำเนินงาน และการจัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา และโรงเรียนได้ใช้ กระบวนการวิจัยในการรวบรวมข้อมูล เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา

 

จุดที่ควรพัฒนา

การบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศภายในโรงเรียน เพื่อใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน โดยบูรณาการข้อมูลให้สามารถใช้ในการบริหารจัดการงานทุกกลุ่มบริหารของโรงเรียน ให้มีความเชื่อมโยงบนฐานข้อมูลเดียวกันเพื่อลดความซ้ำซ้อนของงาน

 

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

          1) กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดเน้นและยุทธศาสตร์ของโรงเรียน ให้ สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความ ต้องการของชุมชน ท้องถิ่นและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ตามแนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ

          2) จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาโรงเรียน แผนปฏิบัติการประจำปี

3) ปรับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียน แผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับ สภาพปัญหา สอดคล้องกับนโยบายการปฏิรูปการศึกษา

4) บริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษาโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล และ แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

5) พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน

6) ส่งเสริมการทำกิจกรรม PLC อย่างสม่ำเสมอ

7) ส่งเสริมครูให้จัดการเรียนรู้แบบโครงงาน

8) ส่งเสริมครูให้ใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ตามสถานการณ์ปัจจุบัน

9) ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรเข้ารับการอบรมในหลักสูตรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการการเรียนรู้และการพัฒนาตนเอง

          1๐) สนับสนุน อำนวยความสะดวกให้ครูและนักเรียนสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ สัญญาณ อินเตอร์เน็ตในโรงเรียนได้ จัดทำโครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ และโครงการพัฒนาอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม

         มาตรฐานที่ ๓ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  มีผลการประเมินอยู่ในระดับ  ดีเลิศ

กระบวนการพัฒนา

          ๑) จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทำการวิเคราะห์หลักสูตร โดยจัดทำบันทึกข้อตกลงการพัฒนาคุณภาพการศึกษารายบุคคลระหว่างครูผู้สอนกับหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ผู้อำนวยการตามลำดับ จัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการคิด และให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

          ๒) สถานศึกษาดำเนินการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนากระบวนการคิดและเรียนรู้จากประสบการณ์จริงด้วยตนเอง และสามารถศึกษาหาความรู้ได้ด้วยตนเองทุกเวลา

          3) สถานศึกษาส่งเสริมการสร้าง พัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนและภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการในการเรียนการสอนวิชาศิลปะ ซึ่งผู้เรียนได้เรียนรู้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น เช่น การนำพืชชนิดต่างๆ มาเป็นแม่พิมพ์ในการทำชิ้นงานในช่วงสถานการณ์โควิด

          ๔) ครูผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนโดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวกให้ผู้เรียนรักครู ครูรักเด็ก เพื่อเป็นการสร้างเจตคติที่ดีต่อกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  มีผลทำให้ผู้เรียนรักที่จะเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข จัดให้มีกิจกรรมแนะแนว 1 ครั้งต่อสัปดาห์โดยครูประจำชั้น ให้ผู้เรียนและครูผู้สอนได้พูดคุยกันในประเด็นต่างๆ

          ๕) โครงการ/กิจกรรมพัฒนาการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ

          ครูผู้สอนมีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการวัดและประเมินผลหลังการจัดการเรียนการสอน       ตามสภาพจริง มีการนำความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

          ๖) ครูผู้สอนมีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าในการจัดการเรียนรู้

          7) สถานศึกษามีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนได้นำไปใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้

          8) สถานศึกษามีการวางแผน ให้ความรู้ รวมถึงส่งเสริมให้ผู้สอนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอน และให้ข้อมูลสะท้อนเพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทั้งจากการนิเทศการสอนที่ครอบคลุมการนิเทศทั้งจากครูผู้สอนท่านอื่น หัวหน้ากุ่มสาระและคณะผู้บริหาร รวมไปถึงกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) และประเมินการสอนจากผู้เรียนเพื่อนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีระบบและเป็นรูปธรรมมากขึ้น

ผลที่เกิดจากการพัฒนา

          1) ครูผู้สอนมีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพของการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอน เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อที่จะได้นำไปใช้พัฒนาการเรียนรู้ของตนเองในครั้งต่อไป

          2) สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ โครงสร้างรายวิชา มีการออกแบบหน่วย       การเรียนรู้โดยเริ่มจากการศึกษา มีการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐาน ตัวชี้วัด รวมถึงมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อนำมาวางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น

          ๓) สถานศึกษามีแหล่งเรียนรู้ สื่อและเทคโนโลยีที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้พัฒนากระบวนการคิดและเรียนรู้จากประสบการณ์จริงด้วยตนเอง และสามารถศึกษาหาความรู้ได้ด้วยตนเองทุกเวลา

          ๔) สถานศึกษามีสื่อและแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนและภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการในการเรียน การสอนวิชาศิลปะ ซึ่งผู้เรียนได้เรียนรู้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นที่หลากหลาย เช่น การนำพืชชนิดต่างๆ มาเป็นแม่พิมพ์ในการทำชิ้นงานในช่วงสถานการณ์โควิด การนำขวดน้ำพลาสติกมาประดิษฐ์เป็นกระถางต้นไม้ เป็นต้น

          ๕) มีการบริหารจัดการชั้นเรียนโดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ผู้เรียนรักครู ครูรักเด็ก เกิดเจตคติที่ดีต่อกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  มีผลทำให้ผู้เรียนรักที่จะเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข

          ๖) ครูผู้สอนทุกคนมีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการวัดและประเมินผลหลังการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริง มีการนำความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

          ๗) ครูผู้สอนทุกคนมีการประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้

          ๘) ผู้เรียนสามารถนำผลการประเมินย้อนกลับไปใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง

          ๙) ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด ได้ปฏิบัติจริง มีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้จนทำให้ผู้เรียนรักการเรียนรู้และเรียนรู้กันอย่างมีความสุข อีกทั้งครูผู้สอนสามารถนำผลที่ได้มาใช้ในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน

 

จุดเด่น

          1. สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจที่กำหนดไว้ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนตามความต้องการของชุมชน วัตถุประสงค์ของแผนการจัดการศึกษาแห่งชาติและหน่วยงานต้นสังกัด ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม พัฒนางานวิชาการเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา

2. โรงเรียนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ เช่น ใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ จัดบรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนรู้

จุดที่ควรพัฒนา

          1. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียน

          2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา

 

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

   โรงเรียนบ้านหนองมวงได้จัดโครงการต่างๆ เพื่อยกระดับให้สูงขึ้นดังนี้

                   1)  โครงการพัฒนาคุณภาพนักเรียนและส่งเสริมความสามารถพิเศษ

                   2)  โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์และเพิ่มค่า RT, NT และO-NET

                   3)  โครงการเศรษฐกิจพอเพียงตามรอยเท้าพ่อ

                   4)  โครงการส่งเสริมกิจกรรมนักเรียน

                   5)  โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

                   6)  โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

                   7)  โครงการผลิตพัฒนาสื่อและส่งเสริมนวัตกรรมทางการศึกษา

                   8)  โครงการส่งเสริมการอ่านเสริมปัญญารู้จักค้นคว้าในห้องสมุด

                   9)  โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

                   10) กิจกรรมอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง

                   11) โครงการคุ้มครองสิทธิเด็ก

                   12) โครงการโรงเรียนคุณธรรม

                   13) กิจกรรมภาษาไทย ภาษาอังกฤษวันละคำ

สรุปผลการประเมินในภาพรวม อยู่ในระดับคุณภาพ ดีเลิศ

 

 

 

            (นางสารภี  สมจิตต์)

                                                          รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองมวง

  

 


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

(Self – Assessment Report : SAR)

 

 

 

 

 

 

 

 

โรงเรียนบ้านหนองมวง

ตำบลควนเมา  อำเภอรัษฎา  จังหวัดตรัง

 
 

 


สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ


บทสรุปของผู้บริหาร

ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา

ชื่อโรงเรียน บ้านหนองมวง  ที่อยู่ 62  หมู่ที่ 5  ตำบลควนเมา  อำเภอรัษฎา  จังหวัดตรัง 92160                 ชื่อผู้บริหารโรงเรียน นางสารภี สมจิตต์ (รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยโรงเรียน) เบอร์โทรศัพท์  095- 405 3019 จำนวนครู 10 คน  จำแนกเป็นข้าราชการครู 5 คน พนักงานราชการ - คน  ครูอัตราจ้าง 3 คน  เจ้าหน้าที่อื่นๆ 2 คน จำนวนนักเรียน  รวม  ๗๗ คน  จำแนกเป็นระดับอนุบาล  ๒๕  คนระดับประถมศึกษา  5๒  คน

ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

๑.     ระดับการศึกษาปฐมวัย

          มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก  มีผลการประเมินอยู่ในระดับ  ดีเลิศ

กระบวนการพัฒนา

          สถานศึกษามีการจัดประสบการณ์ในลักษณะการบูรณาการตามหน่วยการเรียนรู้ จัดกิจกรรมตามตารางกิจกรรมประจำวันและดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ในส่วนด้านร่างกาย ที่สมบูรณ์ แข็งแรง เจริญเติบโตสมวัย  โดยจะเน้นกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านการเล่นของเด็ก  โดยการลงมือปฏิบัติจริง การวิ่ง กระโดด  จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพและการออกกำลังกาย  ฝึกการนันทนาการ การส่งเสริมสุขภาพอนามัย โดยการตรวจสุขภาพประจำวัน  ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง        ภาคเรียนละ  2 ครั้ง ปีการศึกษาละ ๔ ครั้ง

          มีการจัดป้ายนิเทศให้ความรู้แก่เด็กเกี่ยวกับโรคติดต่อต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน  โรคติดต่อที่เกิดขึ้นในชุมชน อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นได้ในชีวิตประจำวัน มีการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด  มีการจัดกิจกรรมสุขภาพดีมีสุข เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายให้กับเด็ก และได้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลควนเมา ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก  การรับการดูแลในช่องปาก การเคลือบฟลูออไรด์ การฉีดวัคซีนเป็นต้น ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ดูแลการรับประทานอาหารกลางวัน การดื่มนม เพื่อให้เด็กมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข  โภชนาการ  ล้างมือหลังจากเข้าห้องน้ำ ห้องส้วมทุกครั้ง แปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน  การดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ได้เหมาะสม  ตามวัย และการปฏิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับความปลอดภัย  หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ โรคต่างๆ และสารเสพติด

มีกิจกรรมหนูน้อยระวังภัยห่างไกลยาเสพติด สถานศึกษามีการจัดหา อุปกรณ์ ซ่อมแซมสนามเด็กเล่นให้มีความปลอดภัย สะดวก พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา ไม่มีจุดที่เป็นอันตราย มีกฎ กติกา ข้อตกลงในการดูแลตนเองให้ปลอดภัย หลีกเลี่ยงจากอันตราย  

ผลที่เกิดจากการพัฒนา

          ๑) เด็กร้อยละ 100 มีน้ำหนัก สวนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน เคลื่อนไหวร่างกาย คล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดีใช้มือและตาประสานสัมพันธ์ได้ดีดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย

          2) เด็กร้อยละ 100  สามารถรู้จักและป้องกันตัวเอง จากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา -  19 ได้ มีสุขลักษณะนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร การใช้ชีวิตประจำวัน

         

          3) เด็กร้อยละ 100 สามารถปฏิบัติตนตามข้อตกลงเกี่ยวกับความปลอดภัย หลีกเสี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด และระวังภัยจากบุคคลภายนอก สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย

          ๔) เด็กร้อยละ 100 ร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้เหมาะสมกับวัย  รู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความ สามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น มีจิตสำนึกและค่านิยม ดีมีความ มั่นใจกล้าพูด กล้าแสดงออกช่วยเหลือแบ่งปัน เคารพสิทธิรู้หน้าที่รับผิดชอบอดทน  อดกลั้น ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม จริยธรรมตามที่สถาน ศึกษากำหนดชื่นชมและมีความ สุขกับศิลปะ ดนตรีและการเคลื่อนไหว

          ๕) เด็กร้อยละ 100 ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันมีวินัยในตนเอง ประหยัดและพอเพียง มี ส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในและนอกห้องเรียน มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้การยิ้ม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ เป็นต้น ยอมรับหรือเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ความคิด พฤติกรรม พื้นฐานครอบครัวเชื้อชาติศาสนา วัฒนธรรม เป็นต้น เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

          ๖) เด็กร้อยละ 100 สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และการช่วยเหลือผู้ปกครอง

          ๗) เด็กร้อยละ 100 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้  ระดับดีขึ้นไปรู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความ สามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น มีจิตสำนึกและค่านิยม ดีมีความ มั่นใจกล้าพูด กล้าแสดงออก

          ๘) เด็กร้อยละ 100 ได้ฝึกคิด การพัฒนาภาษา สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจตั้งคำถามในสิ่งที่ตนเองสนใจหรือสงสัย และ พยายามค้นหาคำตอบ อ่านนิทานและเล่าเรื่องที่ตนเองอ่านได้เหมาะสมกับวัย

 

จุดเด่น

          เด็กมีร่างกายเติบโตตามวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย สามารถดูแลสุขภาพและหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ที่พึงประสงค์ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข  มีอารมณ์แจ่มใส ร่าเริง สนุกสนาน ร่วมกิจกรรมอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีสติปัญญาเรียนรู้ได้ตามกิจกรรมประจำวันอย่างดี มีหลักสูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัย โรงเรียนบ้านหนองมวง พุทธศักราช 2565  (ที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ครูมีความรู้ความสามารถได้รับการพัฒนาด้านวิชาชีพร้อยละ 100 อย่างน้อย ๒๐ ชม.: ปี  การจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้  ระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมตามบทบาทและหน้าที่  พร้อมส่งเสริมและพัฒนาครูปฐมวัยในการนำวิธีการใหม่ๆ มาใช้จัดกิจกรรมการวิจัยเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะ     การนำสื่อและเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ จัดซื้อสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กรอบด้านให้มากขึ้นและเพียงพอต่อความต้องการ และจัดทำระบบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ถูกต้อง ครอบคลุมทันสมัยพร้อมใช้งาน จัดให้มี การตรวจสอบ ประเมินผล จัดทำรายงานเพื่อปรับปรุง พัฒนาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ และจัดครูให้เพียงพอต่อชั้นเรียน

 

จุดที่ควรพัฒนา

1. ด้านการมีความคิดรวบยอด จากการทำกิจกรรม

2. การทำกิจกรรมเสริมสติปัญญาให้เหมาะสมตามวัย

3. การพัฒนา ปลูกฝังในเรื่องสุขนิสัยที่ดี เช่น การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร ล้างมือก่อนออกจากห้องน้ำ ห้องส้วม และการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ให้เป็นนิสัย

4. การยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ

5. การใช้คำพูดขอบคุณ ขอโทษ

6. การใช้วาจาสุภาพเหมาะสมกับวัย

7. จัดซื้อสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กรอบด้านให้มากขึ้นและเพียงพอต่อความต้องการโดยเฉพาะเครื่องเล่นสนาม

8. จัดทำระบบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ถูกต้อง ครอบคลุมทันสมัยพร้อมใช้งาน จัดให้มี การตรวจสอบ ประเมินผล จัดทำรายงานเพื่อปรับปรุง พัฒนาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ  มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ดีเลิศ

กระบวนการพัฒนา

               โรงเรียนจัดทำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยครอบคลุมพัฒนาการผู้เรียนทั้ง 4 ด้านสอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น จัดทำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ปฐมวัย  และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด บริบทของท้องถิ่นและนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ  โดยเป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้าน  ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์  จิตใจ สังคม และสติปัญญา  เพื่อให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้ มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีศักยภาพ  โดยการเข้ารับ การอบรมโดยจักกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน การศึกษานอกสถานที่ เช่น วัด ชุมชน เป็นต้น

               โรงเรียนจัดทำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยครอบคลุมพัฒนาการผู้เรียนทั้ง 4 ด้าน โดยการออกแบบแผนการจัดประสบการณ์ในสอดคล้องกับบริบทโรงเรียน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้าน  ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์  จิตใจ สังคม และสติปัญญา  เพื่อให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ชุมชน ผู้ปกครอง คณะครู นักเรียน เข้ามามีส่วนร่วมในการประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย เพื่อร่วมกันปรับปรุงพัฒนา และจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับความต้องการและบริบทของสถานศึกษา มีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและผู้ปกครอง อย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง เพื่อระดมความคิดในการวางแผนการดำเนินงานของสถานศึกษา ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย และแก้ไขปัญหาเด็กปฐมวัยผ่านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและการออกเยี่ยมบ้านเด็กปฐมวัย ดำเนินการภาคเรียนละ ๑ ครั้ง หรือเมื่อพบเจอปัญหา  ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง  มีส่วนร่วมในการระดมทรัพยากร เช่น สื่อการเรียนรู้ งบประมาณในการปรับปรุง ซ่อมแซมสถานที่ต่าง ๆ ในโรงเรียน

  

 

 

ผลที่เกิดจากการพัฒนา

          ๑) สถานศึกษาดำเนินการบริหารและจัดการสถานศึกษาได้ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัยโรงเรียนบ้านหนองมวง  ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐  บริบทของท้องถิ่น และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ

          2) สถานศึกษาดำเนินการบริหารและจัดการสถานศึกษา ที่ครอบคลุมด้านวิชาการ ด้านครูและบุคลากรด้านข้อมูลสารสนเทศด้านสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ และด้านระบบประกันคุณภาพภายใน

          ๓) พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ ในการวิเคราะห์และ มีทักษะในการจัด ประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็ก   

          ๔) ครูปฐมวัยได้รับการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 20 ชั่วโมงต่อปี มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านการการจัดประสบการณ์และออกแบบกิจกรรม ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการที่สมบูรณ์ทั้ง 4 ด้าน บรรลุตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา    

          ๕) สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก ห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัย ไม่มีมลพิษ มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย  

          ๖) สื่อด้านเทคโนโลยีสารสนเทศไว้บริการ  สอดคล้องกับหน่วยการจัดประสบการณ์  โดยเด็กมี ส่วนร่วมในการประดิษฐ์สื่อ นวัตกรรม ส่งผลให้การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ บรรลุตามจุดประสงค์การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้ดี

          ๗) มีมุมประสบการณ์หลาก หลาย มีสื่อ การเรียนรู้ เช่น ของเล่น หนังสือนิทาน สื่อจากธรรมชาติ สื่อเทคโนโลยี ส่งผลให้การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ บรรลุตามจุดประสงค์การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้ดี

          ๘) การจัดกิจกรรมและดำเนินโครงการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน และคณะกรรมการโรงเรียนขั้นพื้นฐาน มีการจัดการอย่างเป็นระบบ

          ๙) ระบบการบริหารและจัดการของสถานศึกษามีคุณภาพ ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมตามบทบาทได้อย่างเหมาะสมตามหลักธรรมาภิบาล

จุดเด่น

          มีหลักสูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัย โรงเรียนบ้านหนองมวง พุทธศักราช 2564  (ที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ครูมีความรู้ความสามารถได้รับการพัฒนาด้านวิชาชีพร้อยละ 100 อย่างน้อย ๒๐ ชม.: ปี  การจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้  ระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมตามบทบาทและหน้าที่

จุดที่ควรพัฒนา

ส่งเสริมและพัฒนาครูปฐมวัยในการนำวิธีการใหม่ๆ มาจัดกิจกรรม ให้ครูทำวิจัยในชั้นเรียน           เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรภายนอก

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น (ระบุแผนงานโครงการ/กิจกรรม)

          1. จัดทำแผนพัฒนาครูเพื่อยกระดับความสามารถในการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย /การจัดประสบการณ์การเรียนรู้

          2. จัดทำแผนการนิเทศ ติดตาม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูอย่างเป็นระบบ  

          3. พัฒนาระบบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้เป็นระบบ เพียงพอ

          ๔. จัดทำแผนพัฒนาครูให้เพียงพอต่อชั้นเรียน

          ๕. จัดทำแผนพัฒนาครูเพื่อยกระดับความสามารถในการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย /การจัดประสบการณ์การเรียนรู้

           ๖. จัดทำแผนการนิเทศ ติดตาม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูอย่างเป็นระบบ  

           ๗. จัดทำแผนพัฒนาครูเพื่อยกระดับความสามารถในการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย /การจัดประสบการณ์การเรียนรู้

           ๘. จัดทำแผนการส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนและการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลระดับปฐมวัย/กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความพร้อมของเด็กปฐมวัย สื่อ นวัตกรรม

           ๙. จัดทำแผนการส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนและการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลระดับปฐมวัย/กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความพร้อมของเด็กปฐมวัย สื่อ นวัตกรรม

         ๑๐. จัดทำแผนการนิเทศ ติดตาม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูอย่างเป็นระบบ  

         ๑๑. พัฒนาระบบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้เป็นระบบ เพียงพอ

         1. จัดประชุมคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

         ๑๓. จัดประชุมผู้ปกครองนักเรียน

         ๑๔. จัดทำแผนพัฒนาครูเพื่อยกระดับความสามารถในการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย

 

มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ  มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ดีเลิศ

กระบวนการพัฒนา

          สถานศึกษาจัดการศึกษาระดับปฐมวัยที่มุ่งเน้นความสำคัญของการพัฒนาการในทุกๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา  มีความรู้  คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต มีการวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด  จัดทำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทุกหน่วยการเรียนรู้ที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้าน มีการจัดการศึกษาปฐมวัยมุ่งเน้นความสำคัญของการพัฒนาการในทุกๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต โดยจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้และดึงดูดความสนใจของเด็ก  แสงสว่างเพียงพอ สะอาด ปลอดภัย มีพื้นที่สำหรับการจัดกิจกรรมที่เหมาะสม บรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น  ความเห็นอกเห็นใจ มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกันและกัน จัดให้มีมุมต่างๆ เช่น มุมศิลปะ มุมดนตรี มุมวิทยาศาสตร์ มุมบทบาทสมมติ มุมเสริมสวย มุมนิทาน โดยเปิดโอกาสให้เด็กเข้ามามีส่วนร่วมในการเรียนรู้จากมุมต่างๆ รวมถึงการดูแลรักษาทำความสะอาดของเล่น จัดป้ายนิเทศ แสดงความรู้และแสดงผลงาน แบ่งกลุ่ม ห้องเรียนมีบรรยากาศ แจ่มใส กว้างขวางพอเหมาะ มีมุมส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ มีการตกแต่งห้องเรียนให้สดใส และมีสื่อการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์การเรียนการสอน

ผลที่เกิดจากการพัฒนา

          ๑. ครูร้อยละ 100 วิเคราะห์ ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล จัดทำแผนการจัดประสบการณ์ จากการวิเคราะห์มาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษาโดยมีกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้านทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์/จิตใจ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา

          ๒. เด็กมีโอกาสเลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระ ตามความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล หลาก หลายรูปแบบจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เด็กได้เลือกเล่น เรียนรู้ ลงมือ กระทำ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง

          ๓. ครูจัดประสบการณ์ที่เชื่อมโยง กับประสบการณ์เดิมให้ เด็กมีโอกาสเลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระ ตามความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคลหลากหลายรูปแบบจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เด็กได้เลือกเล่นเรียนรู้ ลงมือกระทำและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง

๔. ครูห้องเรียนให้สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพื้นที่แสดงผลงานเด็กพื้นที่สําหรับมุมประสบการณ์และการจัดกิจกรรม โดยเด็กมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน

          ๕. ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตร ประจำวันด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย การประเมินพัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วม และนำผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็ก   

          ๖. ประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจำวันด้วยเครื่องมือที่หลากหลาย หลากหลาย การประเมินพัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วม และนำผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็ก

         

จุดเด่น

         เด็กมีพัฒนาการทั้ง  4  ด้านตามวัย  บรรลุตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด  สภาพแวดล้อม บรรยากาศ สภาพห้องเรียน เอื้อต่อการเรียนรู้และปลอดภัย .ครูมีการประเมินพัฒนาการเด็กด้วยวิธีการที่หลากหลาย

จุดที่ควรพัฒนา

           อุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอนที่เป็นสื่อเทคโนโลยี ที่เพียงพอสำหรับเด็กปฐมวัย

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

               1. จัดทำแผนงาน/โครงการส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนและการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลระดับปฐมวัยทั้ง 4 ด้าน

               2. จัดทำแผนงาน/โครงการพัฒนาครูในด้านสื่อ และเทคโนโลยี

               3. จัดทำแผนงาน/โครงการส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนและการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลระดับปฐมวัยทั้ง 4 ด้าน

               4. จัดทำแผนงาน/โครงการพัฒนาครูในด้านสื่อ และเทคโนโลยี

               5. จัดทำแผนงาน/โครงการส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนและการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลระดับปฐมวัยทั้ง 4 ด้าน

               6. จัดทำแผนงาน/โครงการพัฒนาครูในด้านสื่อ และเทคโนโลยี

               7. พัฒนาเครื่องเล่นสนาม โดยการจัดทำ จัดซื้อให้เพียงพอกับความต้องการของเด็ก

               8. จัดทำแผนงาน/โครงการส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนและการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลระดับปฐมวัยทั้ง 4 ด้าน

สรุปผลการประเมินในภาพรวม อยู่ในระดับคุณภาพ ดีเลิศ

 

 

 

 

๒.ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนผลการประเมินอยู่ในระดับ  ดีเลิศ

กระบวนการพัฒนา

โรงเรียนบ้านหนองมวงส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียน   เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข ดังนั้น โรงเรียนบ้านหนองมวงจึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียนจำนวน     2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ 2) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ด้านผลสัมฤทธิ์ทาง    การเรียนให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ รวมทั้งการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม  หลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างวิจารณญาณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และการมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ สำหรับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามสถานศึกษากำหนด และมีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

ผลที่เกิดจากการพัฒนา

๑. นักเรียนได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย

๒. นักเรียนอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข ซึ่งสอดรับกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศึกราช 2551 ที่ได้มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข

๓. นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ รวมทั้งการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างวิจารณญาณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และการมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ

๔. นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยมที่ดีตามสถานศึกษากำหนด และ มีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

จุดเด่น

สถานศึกษามีโครงการ กิจกรรม อย่างหลากหลายในการพัฒนาผู้เรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น มีความรู้ ความสามารถตามสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน โดยเฉพาะทักษะชีวิต มีเจตคติที่ดีต่อการเรียน การประกอบอาชีพ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด

จุดที่ควรพัฒนา

          โรงเรียนควรจัดเตรียมสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลายให้เพียงพอและเหมาะสมต่อการเรียนรู้ทุกระดับและปรับให้เข้ากับสถานการณ์ในปัจจุบัน

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น (ระบุแผนงานโครงการ/กิจกรรม)

1)      พัฒนาให้นักเรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณเป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนดทุกระดับชั้น

2)      พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดจำแนก แยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล

3)      พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ทั้งด้วยตนเองและการทำงานเป็นทีม เชื่อมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ

4)      พัฒนาให้นักเรียน มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง และสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม

5)      พัฒนาให้นักเรียนมีค่านิยมและจิตสำนึกตามที่สถานศึกษามีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปัญญาไทย

6)      พัฒนาให้นักเรียน มีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม แสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย                      

 

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ  มีผลการประเมินอยู่ในระดับ  ยอดเยี่ยม

กระบวนการพัฒนา

  เพื่อให้บรรลุตามกระบวนการบริหารและการจัดการคุณภาพของสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านหนองมวง        สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดเน้นและยุทธศาสตร์ของ โรงเรียน ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ตามแนวทางการปฏิรูปตามแผนการ ศึกษาชาติ มีแผนพัฒนาการศึกษาโรงเรียน แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับการพัฒนาทุกกลุ่มเป้าหมาย สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษา โดยมี ผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รับทราบในการพัฒนาและมีส่วน รับผิดชอบ

        สถานศึกษาได้ดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถทางด้านวิชาชีพตามความต้องการของครูและสถานศึกษา จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียนบ้านหนองมวง ทำให้นักเรียนมีคุณภาพตามความมุ่งหมายของหลักสูตรสถานศึกษา มีความปลอดภัยในการใช้ชีวิตในโรงเรียน  มีทักษะทางวิชาชีพ สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข

ผลที่เกิดจากการพัฒนา

1) สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดเน้นและยุทธศาสตร์ของ โรงเรียน ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ตามแนวทางการปฏิรูปตามแผนการ ศึกษาชาติ

2) มีแผนพัฒนาการศึกษาโรงเรียน แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับการพัฒนาทุกกลุ่มเป้าหมาย สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษา โดยมี ผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รับทราบในการพัฒนาและมีส่วน รับผิดชอบ

          3) ข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้องครบถ้วน มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบ

          4) สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียน แผนปฏิบัติการ ประจำปีสอดคล้องกับสภาพปัญหา สอดคล้องกับนโยบายการปฏิรูปการศึกษา

          5) ผู้บริหารมีรูปแบบการบริหารที่เป็นระบบโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลัก ธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

          6) มีสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่กระตุ้นให้ผู้เรียนใฝ่เรียนรู้ อาคาร สถานที่เหมาะสมต่อการจัดการศึกษา สะอาดปลอดภัย และมีการใช้พื้นที่ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เช่น สนามฟุตบอล สนามวอลเลย์บอล มีการปรับปรุงห้องน้ำนักเรียนให้สะอาดสวยงามและเพียงพอ มี โรงอาหารสะอาดถูกสุขลักษณะ มีการตรวจคุณภาพอาหารทุกวัน

          7) สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพจากเครือข่าย ในการร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน

          8) สถานศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัด การศึกษาที่เหมาะสม

          9) มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของโรงเรียนที่ชัดเจน มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน โดยความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีการนำข้อมูลมาใช้ ในการปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง และเป็นแบบอย่างได้

          1๐) โรงเรียนจัดระบบการจัดหาการพัฒนาและการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการจัดการ เรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา โรงเรียนจัดให้มีการใช้เทคโนโลยีอย่างเป็นระบบ มีสื่อและ แหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูล จัดทำรายงาน และการเรียน ออนไลน์ในช่วงสถานการณ์โควิดได้

จุดเด่น

โรงเรียนมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ที่กำหนดไว้ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของ โรงเรียนตามความต้องการของชุมชน มีระบบกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เป็นระบบมีประสิทธิภาพและมีการบริหาร จัดการของผู้บริหารมีนวัตกรรมการบริหารที่มีคุณภาพทุกกลุ่มบริหาร รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมและปลูกฝัง ให้ผู้เรียนเป็นทั้งคนเก่งและคนดี พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความเชี่ยวชาญตรงตามความต้องการ ให้สามารถสร้างและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มีวัตถุประสงค์ของแผนการจัดการศึกษาของชาติ นโยบายของ รัฐบาลและต้นสังกัด ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม พัฒนางานวิชาการเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน โรงเรียนบ้านหนองมวง มีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ โรงเรียนบ้านหนองมวง ได้ใช้เทคนิคการประชุมที่หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุม กลุ่ม เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนบ้านหนองมวง ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตามประเมินผล การดำเนินงาน และการจัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา และโรงเรียนได้ใช้ กระบวนการวิจัยในการรวบรวมข้อมูล เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา

 

จุดที่ควรพัฒนา

การบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศภายในโรงเรียน เพื่อใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน โดยบูรณาการข้อมูลให้สามารถใช้ในการบริหารจัดการงานทุกกลุ่มบริหารของโรงเรียน ให้มีความเชื่อมโยงบนฐานข้อมูลเดียวกันเพื่อลดความซ้ำซ้อนของงาน

 

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

          1) กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดเน้นและยุทธศาสตร์ของโรงเรียน ให้ สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความ ต้องการของชุมชน ท้องถิ่นและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ตามแนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ

          2) จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาโรงเรียน แผนปฏิบัติการประจำปี

3) ปรับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียน แผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับ สภาพปัญหา สอดคล้องกับนโยบายการปฏิรูปการศึกษา

4) บริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษาโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล และ แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

5) พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน

6) ส่งเสริมการทำกิจกรรม PLC อย่างสม่ำเสมอ

7) ส่งเสริมครูให้จัดการเรียนรู้แบบโครงงาน

8) ส่งเสริมครูให้ใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ตามสถานการณ์ปัจจุบัน

9) ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรเข้ารับการอบรมในหลักสูตรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการการเรียนรู้และการพัฒนาตนเอง

          1๐) สนับสนุน อำนวยความสะดวกให้ครูและนักเรียนสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ สัญญาณ อินเตอร์เน็ตในโรงเรียนได้ จัดทำโครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ และโครงการพัฒนาอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม

         มาตรฐานที่ ๓ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  มีผลการประเมินอยู่ในระดับ  ดีเลิศ

กระบวนการพัฒนา

          ๑) จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทำการวิเคราะห์หลักสูตร โดยจัดทำบันทึกข้อตกลงการพัฒนาคุณภาพการศึกษารายบุคคลระหว่างครูผู้สอนกับหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ผู้อำนวยการตามลำดับ จัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการคิด และให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

          ๒) สถานศึกษาดำเนินการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนากระบวนการคิดและเรียนรู้จากประสบการณ์จริงด้วยตนเอง และสามารถศึกษาหาความรู้ได้ด้วยตนเองทุกเวลา

          3) สถานศึกษาส่งเสริมการสร้าง พัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนและภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการในการเรียนการสอนวิชาศิลปะ ซึ่งผู้เรียนได้เรียนรู้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น เช่น การนำพืชชนิดต่างๆ มาเป็นแม่พิมพ์ในการทำชิ้นงานในช่วงสถานการณ์โควิด

          ๔) ครูผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนโดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวกให้ผู้เรียนรักครู ครูรักเด็ก เพื่อเป็นการสร้างเจตคติที่ดีต่อกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  มีผลทำให้ผู้เรียนรักที่จะเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข จัดให้มีกิจกรรมแนะแนว 1 ครั้งต่อสัปดาห์โดยครูประจำชั้น ให้ผู้เรียนและครูผู้สอนได้พูดคุยกันในประเด็นต่างๆ

          ๕) โครงการ/กิจกรรมพัฒนาการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ

          ครูผู้สอนมีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการวัดและประเมินผลหลังการจัดการเรียนการสอน       ตามสภาพจริง มีการนำความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

          ๖) ครูผู้สอนมีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าในการจัดการเรียนรู้

          7) สถานศึกษามีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนได้นำไปใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้

          8) สถานศึกษามีการวางแผน ให้ความรู้ รวมถึงส่งเสริมให้ผู้สอนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอน และให้ข้อมูลสะท้อนเพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทั้งจากการนิเทศการสอนที่ครอบคลุมการนิเทศทั้งจากครูผู้สอนท่านอื่น หัวหน้ากุ่มสาระและคณะผู้บริหาร รวมไปถึงกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) และประเมินการสอนจากผู้เรียนเพื่อนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีระบบและเป็นรูปธรรมมากขึ้น

ผลที่เกิดจากการพัฒนา

          1) ครูผู้สอนมีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพของการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอน เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อที่จะได้นำไปใช้พัฒนาการเรียนรู้ของตนเองในครั้งต่อไป

          2) สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ โครงสร้างรายวิชา มีการออกแบบหน่วย       การเรียนรู้โดยเริ่มจากการศึกษา มีการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐาน ตัวชี้วัด รวมถึงมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อนำมาวางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น

          ๓) สถานศึกษามีแหล่งเรียนรู้ สื่อและเทคโนโลยีที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้พัฒนากระบวนการคิดและเรียนรู้จากประสบการณ์จริงด้วยตนเอง และสามารถศึกษาหาความรู้ได้ด้วยตนเองทุกเวลา

          ๔) สถานศึกษามีสื่อและแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนและภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่นบูรณาการในการเรียน การสอนวิชาศิลปะ ซึ่งผู้เรียนได้เรียนรู้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นที่หลากหลาย เช่น การนำพืชชนิดต่างๆ มาเป็นแม่พิมพ์ในการทำชิ้นงานในช่วงสถานการณ์โควิด การนำขวดน้ำพลาสติกมาประดิษฐ์เป็นกระถางต้นไม้ เป็นต้น

          ๕) มีการบริหารจัดการชั้นเรียนโดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ผู้เรียนรักครู ครูรักเด็ก เกิดเจตคติที่ดีต่อกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  มีผลทำให้ผู้เรียนรักที่จะเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข

          ๖) ครูผู้สอนทุกคนมีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการวัดและประเมินผลหลังการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริง มีการนำความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

          ๗) ครูผู้สอนทุกคนมีการประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้

          ๘) ผู้เรียนสามารถนำผลการประเมินย้อนกลับไปใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง

          ๙) ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด ได้ปฏิบัติจริง มีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้จนทำให้ผู้เรียนรักการเรียนรู้และเรียนรู้กันอย่างมีความสุข อีกทั้งครูผู้สอนสามารถนำผลที่ได้มาใช้ในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน

 

จุดเด่น

          1. สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจที่กำหนดไว้ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนตามความต้องการของชุมชน วัตถุประสงค์ของแผนการจัดการศึกษาแห่งชาติและหน่วยงานต้นสังกัด ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม พัฒนางานวิชาการเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา

2. โรงเรียนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ เช่น ใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ จัดบรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนรู้

จุดที่ควรพัฒนา

          1. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียน

          2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา

 

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

   โรงเรียนบ้านหนองมวงได้จัดโครงการต่างๆ เพื่อยกระดับให้สูงขึ้นดังนี้

                   1)  โครงการพัฒนาคุณภาพนักเรียนและส่งเสริมความสามารถพิเศษ

                   2)  โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์และเพิ่มค่า RT, NT และO-NET

                   3)  โครงการเศรษฐกิจพอเพียงตามรอยเท้าพ่อ

                   4)  โครงการส่งเสริมกิจกรรมนักเรียน

                   5)  โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

                   6)  โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

                   7)  โครงการผลิตพัฒนาสื่อและส่งเสริมนวัตกรรมทางการศึกษา

                   8)  โครงการส่งเสริมการอ่านเสริมปัญญารู้จักค้นคว้าในห้องสมุด

                   9)  โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

                   10) กิจกรรมอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง

                   11) โครงการคุ้มครองสิทธิเด็ก

                   12) โครงการโรงเรียนคุณธรรม

                   13) กิจกรรมภาษาไทย ภาษาอังกฤษวันละคำ

สรุปผลการประเมินในภาพรวม อยู่ในระดับคุณภาพ ดีเลิศ

 

 

 

            (นางสารภี  สมจิตต์)

                                                          รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองมวง

 



ข่าวประชาสัมพันธ์ 5 อันดับล่าสุด

     เผยแพร่รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านเขากอบ 16 มิ.ย. 2566
      รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านป่ากอ 15 มิ.ย. 2566
     การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงาน ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ปีการศึกษา 2565 12 มิ.ย. 2566
     เผยแพร่รายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : 12 มิ.ย. 2566
     เผยแพร่รายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 12 มิ.ย. 2566


ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2
My Office V 6.4 - 2018 Copyright @T&T-2018 All rights reserved.