f สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2
[x] ปิดหน้าต่างนี้
T&T-2018 All rights reserved ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ สพป.ตรัง เขต 2.

เรื่อง : แบบรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล การดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านนาเมืองเพชร
ผู้เขียน : โรงเรียนบ้านนาเมืองเพชร
วันที่   16   พฤษภาคม   2565
เข้าชม : 397
Bookmark and Share


 แบบรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงาน

ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ปีการศึกษา 2564

 โรงเรียนบ้านนาเมืองเพชร  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2

……………………………………….

1.ข้อมูลทั่วไป

          ชื่อโรงเรียน บ้านนาเมืองเพชร

สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2

โทรศัพท์ 075-278-159

e-mail: bnmpschool@bnmp.ac.th 

website : www.bnmp.ac.th   

facebook : https://www.facebook.com/bnmp.school

เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

สถานที่ตั้ง 177 หมู่ที่ 4 ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสไปรษณีย์ 92000

พิกัด 7.5436673422201626, 99.49213803944596

พื้นที่โรงเรียนทั้งหมด 23 ไร่ 2 งาน 42 ตารางวา 

เขตพื้นที่บริการทั้งหมด 4 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 2 บ้านเขาแก้ว และหมู่ที่ 3 บ้านหนองไม้ไผ่

หมู่ที่ 4 บ้านนาเมืองเพชร หมู่ที่ 5 บ้านไทรห้อย

ชื่อผู้บริหารสถานศึกษา

ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนาเมืองเพชร

นายสุรชัย  ชูกระชั้น               วิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ

วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท (ศษ.ม.)  การบริหารการศึกษา

โทรศัพท์มือถือ 08๕-๓๘๑๕๔๒๐

e-mail : surachai5349@gmail.com  

ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนนี้เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม 2562  จนถึงปัจจุบัน

รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนาเมืองเพชร

นายเกียรติประวัติ   เพ็ชรสวัสดิ์            วิทยฐานะ ชำนาญการ

วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท (ศษ.ม.)  การบริหารการศึกษา

โทรศัพท์มือถือ 091-8485001

e-mail : kiatprawat@bnmp.ac.th  

ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนนี้เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2563  จนถึงปัจจุบัน

ประวัติโรงเรียนโดยย่อ

โรงเรียนบ้านนาเมืองเพชร  ตั้งอยู่หมู่ที่ 4  ตำบลนาเมืองเพชร  อำเภอสิเกา  จังหวัดตรัง  เปิดทำการสอน         ครั้งแรก เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน  พ..2487  มีนายแช่ม วรรณศรี เป็นครูใหญ่  มีนักเรียนทั้งหมด 27 คน

สมัยนายเชื่อม  ทองอ่อน เป็นครูใหญ่ ได้จัดทำหนังสือสำคัญเป็นเอกสารที่ดินโรงเรียนปัจจุบันโรงเรียนมีหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง  เลขที่ 35600  มีเนื้อที่ 23 ไร่ 2 งาน 42 ตารางวา โดยใช้ประโยชน์การประถมศึกษาโรงเรียนบ้านนาเมืองเพชร และสถานีอนามัยตำบลนาเมืองเพชร  โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการศึกษาโรงเรียนในขณะนั้น

 

ปีการศึกษา  2546  โรงเรียนบ้านนาเมืองเพชร เป็นโรงเรียนหลัก  มีโรงเรียน 2  สาขา คือ สาขาตรังคสมบัติ 1 และสาขาวัดเขาแก้ว บริหารจัดการโดยนำนักเรียนมาเรียนรวม จัดการเรียนการสอนเป็น  3  ระดับ คือ ระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น   

2. ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา (31 มีนาคม 2565)

บุคลากร

ผู้บริหาร

ครูผู้สอน

พนักงานราชการ

ครูอัตราจ้าง

เจ้าหน้าที่อื่นๆ

31 มีนาคม 2565

2

15

1

2

1

 

3.  ข้อมูลนักเรียน (10 พ.ย. 2564)                  

ระดับชั้นเรียน

จำนวน

หมายเหตุ

ชาย

หญิง

รวม

อนุบาลปีที่ 1

9

9

18

 

อนุบาลปีที่ 2

20

23

43

 

อนุบาลปีที่ 3

19

14

33

 

รวม

48

46

94

 

ประถมศึกษาปีที่ 1

8

21

29

 

ประถมศึกษาปีที่ 2

19

14

33

 

ประถมศึกษาปีที่ 3

11

16

27

 

ประถมศึกษาปีที่ 4

17

20

37

 

ประถมศึกษาปีที่ 5

22

10

32

 

ประถมศึกษาปีที่ 6

14

13

27

 

รวม

91

94

185

 

มัธยมศึกษาปีที่ 1

29

17

46

 

มัธยมศึกษาปีที่ 2

21

8

29

 

มัธยมศึกษาปีที่ 3

18

13

31

 

มัธยมศึกษาปีที่ 4

-

-

-

 

มัธยมศึกษาปีที่ 5

-

-

-

 

มัธยมศึกษาปีที่ 6

-

-

-

 

รวม

68

38

106

 

รวมทั้งหมด

198

190

388

 

หมายเหตุ  ให้โรงเรียนรายงานข้อมูลเฉพาะระดับชั้นที่เปิดสอนทุกระดับในปีการศึกษา 2564

 

4. ผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา                       

   ตามกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ปีการศึกษา 2564  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

   ประถมศึกษาตรัง เขต 2

    4.1  รูปแบบการบริหารจัดการการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

ผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินฯ  อยู่ในระดับคุณภาพดีมาก  4

การดำเนินงานของสถานศึกษา

โรงเรียนมีจัดทำโครงการประกันคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา /กิจกรรมกำหนด ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ทรงคุณวุฒิของสถานศึกษา มีการวางแผนการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยการสร้างความมั่นใจแก่ผู้รับบริการ ด้วยการบริหารจัดการที่มีคุณภาพทั้งองค์กร โดยใช้หลักการมีส่วนร่วม บุคลากรในโรงเรียน  มีการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำรูปเล่ม ได้จัดพิมพ์ ตรวจสอบ จัดทำรูปเล่ม ตามรูปแบบของแนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และนำขึ้นประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ของโรงเรียน

ผลการดำเนินงาน

โรงเรียนมีคณะกรรมการติดตามฯคุณภาพภายใน ตามที่กำหนดและเข้ามามีส่วนร่วมในการติดตามฯ เป็นประจำทุกปีตามเครื่องมือติดตามคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และโรงเรียนมีการจัดทำรายงานประจำปีโดยคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบและมีมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา บนเว็บไซต์ของโรงเรียน www.bnmp.ac.th และเพจเฟสบุคโรงเรียนบ้านนาเมืองเพชร 

 

    4.2  การดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 

           4.2.1 การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ

ผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินฯ  อยู่ในระดับคุณภาพดีมาก  4

การดำเนินงานของสถานศึกษา

1. มีการศึกษา วิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งชี้เพื่อการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาครบถ้วนเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม

2. มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งชี้เพื่อการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่ประกาศใช้และเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม

3. มีการกำหนดค่าเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานและตัวบ่งชี้ส่วนใหญ่อย่างเหมาะสมโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและมีการ ประกาศ/ประชาสัมพันธ์ให้ผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและนอกสถานศึกษาได้รับทราบ 

4. มีการจัดทำคู่มือแนวทางการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาทั้งในระดับการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานครบถ้วนทุกมาตรฐาน ตัวบ่งชี้

ผลการดำเนินงาน

สถานศึกษามีการศึกษา วิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งชี้เพื่อการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาครบถ้วนเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม  มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งชี้เพื่อการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่ประกาศใช้และเปิดโอกาสให้      ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม  มีการกำหนดค่าเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานและตัวบ่งชี้ส่วนใหญ่อย่างเหมาะสมโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและมีการประกาศ/ประชาสัมพันธ์ให้ผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและนอกสถานศึกษาได้รับทราบ มีการจัดทำคู่มือแนวทางการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาทั้งในระดับการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานครบถ้วนทุกมาตรฐาน ตัวบ่งชี้

 

4.2.2  การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

ผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินฯ  อยู่ในระดับ 4

การดำเนินงานของสถานศึกษา

1. มีการศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการจำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็น ระบบ ได้ข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทั้งจากแหล่งข้อมูล เอกสาร และผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง

2. จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาโดยกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายต่างๆที่ มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างชัดเจนโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและเสนอต่อ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบและรับรู้ร่วมกันอย่างกว้างขวาง และแจ้งให้หน่วยงานต้นสังกัดรับทราบ

3. จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาโดยเกือบทุกแผนงานโครงงาน กิจกรรมครอบคลุมตามภารกิจในแผนพัฒนา การจัดการศึกษาพร้อมทั้งปรับกิจกรรมให้สอดคล้องกับนโยบายที่สำคัญ

4. เสนอแผนปฏิบัติการประจำปีต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความ เห็นชอบอย่างมีระบบและแจ้งให้หน่วยงานต้นสังกัดรับทราบ

ผลการดำเนินงาน

สถานศึกษามีการศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการจำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ได้ข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทั้งจากแหล่งข้อมูล เอกสาร และผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง จัดทำแผนพัฒนา      การจัดการศึกษาโดยกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายต่างๆที่ มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างชัดเจนโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและเสนอต่อ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบและรับรู้ร่วมกันอย่างกว้างขวาง และแจ้งให้หน่วยงานต้นสังกัดรับทราบ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่สอดคล้องกับแผนพัฒนา       การจัดการศึกษาของ สถานศึกษาโดยเกือบทุกแผนงาน โครงงานกิจกรรมครอบคลุมตามภารกิจในแผนพัฒนา การจัดการศึกษาพร้อมทั้งปรับกิจกรรมให้สอดคล้องกับนโยบายที่สำคัญ เสนอแผนปฏิบัติการประจำปี              ต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบอย่างมีระบบและแจ้งให้หน่วยงานต้นสังกัดรับทราบ          

 

4.2.3  การดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ 

ผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินฯ  อยู่ในระดับ 5

การดำเนินงานของสถานศึกษา

1. มีการกำหนดผู้รับผิดชอบ ปฏิทินและแผนกำกับติดตามการดำเนินงานของแผน ปฏิบัติการประจำปีชัดเจน ครบถ้วนในทุกโครงการ กิจกรรมโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม

2. มีการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการประจำปีตามกรอบระยะเวลาที่กำหนดไว้ร้อยละ 80 ขึ้นไปของจำนวนโครงการ/กิจกรรม 

3. ผู้รับผิดชอบและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ตามที่ได้กำหนด โดยร้อยละ 80 ขึ้นไปของโครงการ กิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์มีการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่าและผู้เกี่ยวข้องร้อยละ 80  ขึ้นไปพึงพอใจ ในการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงาน

สถานศึกษามีการกำหนดผู้รับผิดชอบ ปฏิทินและแผนกำกับติดตามการดำเนินงานของแผนปฏิบัติการประจำปีชัดเจน ครบถ้วนในทุกโครงการ กิจกรรมโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มีการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการประจำปีตามกรอบระยะเวลาที่กำหนดไว้ผู้รับผิดชอบและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบเพื่อให้กิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์มีการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า

          

4.2.4  การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา

ผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินฯ  อยู่ในระดับ 5

การดำเนินงานของสถานศึกษา

1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากหน่วยงานต้นสังกัดอย่างน้อย 1 คน กำหนดบทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการอย่างชัดเจนและดำเนินการประเมินฯ คุณภาพภายในของสถานศึกษา อย่างน้อยปีละ1 ครั้งโดยได้รับความร่วมมือจากผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

2. มีการวางแผนและกำหนดแนวทางการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ที่ชัดเจน มีเครื่องมือประเมินฯคุณภาพภายในที่ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาทุกระดับการศึกษา โดยทุกมาตรฐานและทุกตัวบ่งชี้ดำเนินการประเมินฯ คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาโดยใช้วิธีการที่หลากหลายและเหมาะสม

ผลการดำเนินงาน

สถานศึกษามีการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินฯ ซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากหน่วยงานต้นสังกัดอย่างน้อย 1 คน กำหนดบทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการอย่างชัดเจนและดำเนินการประเมินฯคุณภาพภายในของสถานศึกษา  มีการวางแผนและกำหนดแนวทางการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ที่ชัดเจน มีเครื่องมือประเมินฯคุณภาพภายในที่ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาทุกระดับการศึกษา โดยทุกมาตรฐานและทุกตัวบ่งชี้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาโดยใช้วิธีการที่หลากหลายและเหมาะสม

 

4.2.5  ติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

ผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินฯ  อยู่ในระดับ 5

การดำเนินงานของสถานศึกษา

1. มีผู้รับผิดชอบในการติดตามผลการดำเนินงานของสถานศึกษา และมีกระบวนการ สร้างความเข้าใจในการติดตามฯระดับสถานศึกษามอบหมายงานตามความรู้ความสามารถร่วมกันวางแผนกำหนดภารกิจและปฏิทินการติดตามฯและมีการ ประสานงานอย่างเป็นระบบ

2. สถานศึกษามีการติดตามผลการดำเนินงานของสถานศึกษาทั้งระดับบุคคลและระดับสถานศึกษาที่แสดงผลการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยมีวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง

3. สถานศึกษามีการจัดทำรายงานเสนอต่อผู้เกี่ยวข้องด้วยรูปแบบที่หลากหลายและนำผลการติดตามฯไปใช้วางแผนดำเนินงาน ปรับปรุงพัฒนาการบริหารจัดการและการ เรียนการสอน

ผลการดำเนินงาน

สถานศึกษาสถานศึกษามีการติดตามผลการดำเนินงานของสถานศึกษาทั้งระดับบุคคลและระดับสถานศึกษาที่แสดงผลการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยมีวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มีการจัดทำรายงานเสนอต่อผู้เกี่ยวข้องด้วยรูปแบบที่หลากหลายและนำผลการติดตามไปใช้วางแผนดำเนินงาน ปรับปรุงพัฒนาการบริหารจัดการและการ เรียนการสอน

 

4.2.6. จัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปี

ผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินฯ  อยู่ในระดับ 5

การดำเนินงานของสถานศึกษา

1. สรุปและจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาที่สะท้อนคุณภาพผู้เรียน และผลสำเร็จของการบริหารจัดการศึกษาอย่างชัดเจน ครอบคลุมตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาตามรูปแบบที่หน่วยงานต้นสังกัดกำหนดโดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานทุกฝ่าย

2. มีการตรวจสอบ ปรับปรุงคุณภาพของรายงานให้มีความชัดเจนและสมบูรณ์แล้วจึงเสนอรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบอย่างเป็นระบบ ตามช่วงเวลาที่กำหนด 

3. มีการเผยแพร่รายงานการประเมินตนเองสถานศึกษาด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลากหลายต่อหน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชนพร้อมกับนำความคิดเห็นข้อเสนอแนะจากผู้ได้รับการเผยแพร่เพื่อนำไปใช้สำหรับการพัฒนาการจัดการศึกษาอย่างมีระบบ เป็นไปอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงาน

สถานศึกษามีการสรุปและจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาที่สะท้อนคุณภาพผู้เรียน และผลสำเร็จของการบริหารจัดการศึกษาอย่างชัดเจน ครอบคลุมตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาตามรูปแบบที่หน่วยงานต้นสังกัดกำหนดโดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานทุกฝ่ายมีการตรวจสอบ ปรับปรุงคุณภาพของรายงานให้มีความชัดเจนและสมบูรณ์แล้วจึงเสนอรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบอย่างเป็นระบบ ตามช่วงเวลาที่กำหนด  มีการเผยแพร่รายงานการประเมินตนเองสถานศึกษาด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลากหลายต่อหน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชนพร้อมกับนำความคิดเห็นข้อเสนอแนะจากผู้ได้รับการเผยแพร่เพื่อนำไปใช้สำหรับการพัฒนาการจัดการศึกษาอย่างมีระบบ เป็นไปอย่างต่อเนื่อง 

 

 

 

4.3  ผลงานเด่นของสถานศึกษา  ปีการศึกษา 2563 - 2564

          ผลงานดีเด่นของสถานศึกษา ผู้บริหาร ครูและบุคลากร

ที่

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ

หน่วยงานที่มอบรางวัล

1

ครูดีไม่มีอบายมุข  ประจำปีการศึกษา 2563

1. นางสุภาภรณ์  ราชแป้น

2. นางสาวชนันยา  ขุนทอง

3. นางชุติมา  เชี่ยเท่า

4. นางหวานใจ  จันทร์ฝาก

5. นายวิชิต  เชี่ยเท่า

6. นางสาวกรกนก  โพธิ์แก้ว

7. นางสาวพชรพร อรรถสงเคราะห์

8. นายทรงลักษณ์  สุทธิพันธ์

9. นายวรวุฒิ  คงแก้ว

10. นางสาวปาณิศา  ชิตชลธาร

11. นางเยาวพา  วัลลิยสัจจกุล

12. นางสาวเบญจวรรณ์  คีรีรัตน์

13. นางยุราวัลภ์ ศิริอนันต์โสภา

14. นางชนิกานต์  อรรณพ

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2

โครงการ “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย”

มูลนิธิ ในพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

3

ครูผู้สอนดีเด่น เนื่องในวันครู ครั้งที่ 66 พ.ศ.2565

- นางสาวกรกนก โพธิ์แก้ว (กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย)

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดตรัง

4

รางวัลชนะเลิศ การการประกวดสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัลสู่การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)

(กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์)

  นางเยาวพา วัลลิยสัจจกุล

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2

 

 

 

 

ผลงานดีเด่นของนักเรียน

ที่

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ

หน่วยงานที่มอบรางวัล

1

ได้รับการคัดเลือกให้ได้รับเข็มลูกเสือบำเพ็ญประโยชน์ ประจำปี 2564

    เด็กชายวรเดช ไหมญา

สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ

2

การแข่งขันทักษะทางวิชาการ ออนไลน์

โครงการสานฝันพัฒนาคุณภาพนักเรียน สพป.ตรัง เขต 2 ครั้งที่ 16

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

1.      เด็กหญิงณัฐิกานต์  กล้าหาญ

2.      เด็กหญิงสุชานันท์  ศรีพล

3.      เด็กหญิงเขมนิจ  รักษา

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

1.      นางสาวศิวรรณรัศมิ์  อั้นทอง

2.      นายศัลยกรณ์  เพ็ชรอุทัย

3.      นางสาวพิมพ์ชนก ศรีชัย

4.      เด็กชายพลพรรธน์ สุวรรณวัฒน์

5.      นายภานุเดช วงษ์ศิริพัฒนา

6.      นายภาคภูมิ  เอียดแก้ว

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2

  



ข่าวประชาสัมพันธ์ 5 อันดับล่าสุด

     เผยแพร่รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านควนอารี 15 มิ.ย. 2565
     แบบรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านบ้านพรุใหญ่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2 14 มิ.ย. 2565
     เผยแพร่รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564 14 มิ.ย. 2565
     การเผยแพร่รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖4 13 มิ.ย. 2565
     เผยแพร่รายงานการประเมินตนเอง SAR ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านทุ่งศาลา 13 มิ.ย. 2565


ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2
My Office V 6.4 - 2018 Copyright @T&T-2018 All rights reserved.