f สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2
[x] ปิดหน้าต่างนี้
T&T-2018 All rights reserved ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ สพป.ตรัง เขต 2.

เรื่อง : เผยแพร่รายงานการประเมินตนเอง SAR ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านทุ่งศาลา
ผู้เขียน : โรงเรียนบ้านทุ่งศาลา
วันที่   13   มิถุนายน   2565
เข้าชม : 413
Bookmark and Share


 

บทสรุปของผู้บริหาร

 

ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 

ชื่อโรงเรียนบ้านทุ่งศาลา  ที่อยู่128 หมู่ที่ 3 ตำบลบางกุ้ง อำเภอห้วยยอด  จังหวัดตรัง

ชื่อผู้บริหารโรงเรียน   นายมารุตต์     ลั่นเต้ง     เบอร์โทรศัพท์  085-4785339   จำนวนครู   17   คน  จำแนกเป็น ข้าราชการครู  15  คน พนักงานราชการ  1 คน ครูอัตราจ้าง 1 คน จำนวนนักเรียน รวม 199 คน จำแนกเป็นระดับอนุบาล  14  คน ระดับประถมศึกษา  125  คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 60  คน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 ..64)

ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

1.      ระดับการศึกษาปฐมวัย

 

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ระดับคุณภาพ

กำลัง

พัฒนา

ปานกลาง

ดี

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

มาตรฐานที่ 1  คุณภาพของเด็ก

 

 

 

P

 

มาตรฐานที่  2  กระบวนการบริหารและการจัดการ

 

 

 

 

P

มาตรฐานที่  3  การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ

 

 

 

P

 

สรุปผลการประเมินโดยภาพรวมของสถานศึกษา(ร้อยละ 90.20)

 

 

 

 

P

 

2.   ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

 

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ระดับคุณภาพ

กำลัง

พัฒนา

ปานกลาง

ดี

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

มาตรฐานที่  1  คุณภาพของผู้เรียน

 

 

 

P

 

มาตรฐานที่  2  กระบวนการบริหารและการจัดการ

 

 

 

 

P

มาตรฐานที่  3  กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

 

 

 

P

 

สรุปผลการประเมินโดยภาพรวมของสถานศึกษา(ร้อยละ 90.06)

 

 

 

 

P

 

          หมายเหตุ  ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม

 

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา  (Self-Assessment  Report : SAR)

ปีการศึกษา 2564

โรงเรียนบ้านทุ่งศาลา  อำเภอห้วยยอด   จังหวัดตรัง

ส่วนที่ 1

ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา

*  ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา

ชื่อโรงเรียนบ้านทุ่งศาลา  ที่อยู่128 หมู่ที่ 3 ตำบลบางกุ้ง อำเภอห้วยยอด  จังหวัดตรัง

ชื่อผู้บริหารโรงเรียน   นายมารุตต์     ลั่นเต้ง     เบอร์โทรศัพท์  085-4785339   จำนวนครู   17   คน  จำแนกเป็น ข้าราชการครู  15  คน พนักงานราชการ  1 คน ครูอัตราจ้าง 1 คน จำนวนนักเรียน รวม 199 คน จำแนกเป็นระดับอนุบาล  14  คน ระดับประถมศึกษา  125  คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 60  คน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 ..64)

*  ปรัชญาของโรงเรียน : ร่วมกันสร้างระบบการเรียนรู้  มุ่งสู่ความเป็นเลิศ

*  วิสัยทัศน์ : เตรียมพร้อมสำหรับการพัฒนา ปฏิบัติตามนโยบาย สร้างโอกาสทางการศึกษา พัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ ให้เป็นบุคคลมีความรู้ คู่คุณธรรม โดยการประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วน

 

*  ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา

           1) ตารางที่ 1 แสดงจำนวนบุคลากร

 

บุคลากร

ผู้บริหาร

ครูผู้สอน

พนักงานราชการ

ครูอัตราจ้าง

เจ้าหน้าที่อื่นๆ

ปีการศึกษา 2564

1

15

1

1

1

     

          2) วุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร

 

 

 

 

 

1.2  ข้อมูลนักเรียน

 

          1) จำนวนนักเรียนปีการศึกษา 2564   รวม......209..... คน (ข้อมูล ณ วันที่ 18 .. 64)

              รวม......199..... คน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 .. 64)

 

    ตารางที่ 2 แสดงจำนวนนักเรียน

 

ชั้น

จำนวนนักเรียนปีการศึกษา 2564

หมายเหตุ

ข้อมูล 18  ก.ค.. 2564

ข้อมูล 10 ธ.ค.  2564

ชาย

หญิง

รวม

ชาย

หญิง

รวม

อนุบาล 1

1

1

2

1

1

2

  ช่วงโรคระบาด โควิด-19

อนุบาล 2

3

0

3

3

0

3

 

อนุบาล 3

3

6

9

3

6

9

 

รวม

7

7

14

7

7

14

 

ป.1

8

11

19

7

12

19

 

ป.2

14

9

23

13

9

22

 

ป.3

7

8

15

7

8

15

 

ป.4

10

11

21

12

12

24

 

ป.5

11

14

25

11

14

25

 

ป.6

11

10

21

9

11

20

 

รวม

61

63

124

59

66

125

 

ม.1

18

11

29

12

10

22

 

ม.2

16

5

21

14

7

21

 

ม.3

14

7

21

10

7

17

 

รวม

48

23

71

36

24

60

 

รวมทั้งหมด

116

93

209

102

97

199

 

 

1.3 ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา

1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

 

 

 

 

                                                                                 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2) ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน

         

 

3) ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 

ส่วนที่ 2

ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานเพื่อกันประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

 

สรุปผลการประเมินในภาพรวม ระดับการศึกษาปฐมวัย

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาอยู่ในระดับ  ยอดเยี่ยม   จากผลการดำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดมาตรฐาน

 

มาตรฐานที่ 1  คุณภาพของเด็ก (ดีเลิศ)

 เด็กมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข  สุขภาพแข็งแรง     เด็กรู้จักการดูแลสุขภาพของตนเองในเรื่องการรักษาความสะอาด  มีนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน  การป้องกันโรคเบื้องต้นได้  สามารถหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค  อุบัติเหตุภัย และสารเสพติดได้ เด็กสามารถปฏิบัติกิจกรรมการเคลื่อนไหวได้  เช่น  การร้องเพลงประกอบท่าทาง การเล่นเกมส์ การเล่นกีฬา เหมาะสมตามวัย เด็กมีจิตใจร่าเริงแจ่มใส  รู้สึกดีต่อตนเอง  ภูมิใจในตนเอง  กล้าซักถามสิ่งที่อยากรู้  มีความมั่นใจ  กล้าแสดงออก มีวินัย มีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์ มีน้ำใจแบ่งปันของเล่นของใช้ให้เพื่อนๆ เล่นและทำงานกับผู้อื่นได้  ชอบงานศิลปะ  ดนตรี  รักธรรมชาติช่วยกันดูแลความสะอาดของเขตพื้นที่รับผิดชอบเป็นประจำทุกวันเด็กมีวินัย มีความรับผิดชอบ  มีความซื่อสัตย์  ไม่นำสิ่งของของผู้อื่นมาเป็นของตน เดินแถวเป็นระเบียบ มีน้ำใจแบ่งปันของเล่นของใช้ให้เพื่อน ๆ  เล่นและทำงานกับผู้อื่นได้ รู้จักช่างสังเกต สนใจสิ่งรอบตัว กล้าซักถาม  รักการเรียนรู้ มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน

มาตรฐานที่ 2  กระบวนการบริหารและการจัดการ (ยอดเยี่ยม)

สถานศึกษามีกระบวนการบริหารและจัดการที่ชัดเจน  มีหลักสูตรปฐมวัยที่สามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพจัดสิ่งอำนวยความสะดวก รอบด้าน เพียงพอ เหมาะสมในการจัดการศึกษาปฐมวัย ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีประสิทธิภาพและทั่วถึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ ติดตามตรวจสอบระบบประกันและจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดและเผยแพร่ต่อสาธารณะชนทุกปี  เด็กปฐมวัยมีความพร้อมทั้ง 4 ด้าน คือ ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา  มีความพร้อมในการเลื่อนไปชั้นในระดับต่อไป โรงเรียนบ้านทุ่งศาลามีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถตรงสาขาวิชาที่สอน และมีประสบการณ์ในการปฏิบัติการสอน ทำให้ครูสามารถออกแบบการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ และมีกระบวนการพัฒนาครูให้สามารถออกแบบรูปแบบการสอนที่เหมาะกับพัฒนาการ และทักษะที่จำเป็นตามวัยสำหรับผู้เรียน ครูเข้าใจปรัชญาหลักการ และธรรมชาติของเด็ก สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กตามความแตกต่างระหว่างบุคคลได้มีแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการจัดการศึกษาปฐมวัย ใช้สื่อเทคโนโลยีในการจัดประสบการณ์เหมาะสมกับการพัฒนาของเด็กมีการวัดประเมินผลเพื่อพัฒนาเด็กที่หลากหลายและรายงานผลการพัฒนาต่อผู้ปกครองเป็นประจำมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครอง  จัดสิ่งแวดล้อม และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กและจัดทำสารนิทัศน์เป็นปัจจุบัน เด็กปฐมวัยมีความพร้อมทั้ง 4 ด้าน คือ ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา  มีความพร้อมในการเลื่อนไปชั้นในระดับต่อไป ครูมีสื่อเพียงพอต่อการสอนนักเรียน  ทำให้นักเรียนได้พัฒนาทั้ง 4 ด้าน คือ ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา  ไปพร้อมๆกันจึงทำให้นักเรียนมีพัฒนาการทั้ง 4 ดีขึ้น บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการกำหนดโครงการต่างๆในระดับปฐมวัยและกำหนดมาตรฐานการศึกษาสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ ติดตามตรวจสอบระบบประกันและจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดและเผยแพร่ต่อสาธารณะชนทุกปี  เด็กปฐมวัยมีความพร้อมทั้ง 4 ด้าน คือ ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา  มีความพร้อมในการเลื่อนไปชั้นในระดับต่อไป

มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ (ดีเลิศ)

ครูผู้สอนจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้าน เน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง มีทักษะการแสวงหาความรู้ ผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้รวมทั้งการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการคิดให้แก่ผู้เรียนครูผู้สอนจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เน้นให้ผู้เรียนจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง มีทักษะการแสวงหาความรู้ ผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้รวมทั้งการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการคิดให้แก่ผู้เรียน ครูมีการเตรียมสื่อการสอนที่หลากหลาย ทั้งสื่อดิจิตัลและสื่อเกมการศึกษาต่างๆ  ทำให้นักเรียนได้พัฒนาทั้ง 4 ด้าน คือ ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา  ไปพร้อมๆกันจึงทำให้นักเรียนมีพัฒนาการทั้ง 4 ดีขึ้น  ครูผู้สอนประเมินเด็กตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลายเหมาะกับเด็ก  คุณครูประเมินเด็กโดยการสังเกตและจดบันทึกพฤติกรรมและสอบถามจากผู้ปกครอง  รวมทั้งประเมินด้วยแฟ้มสะสมผลงานของนักเรียน  ทำให้ทราบพัฒนาการด้านต่างๆ ของนักเรียน 

 

แนวทางการพัฒนาในอนาคตเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรและมีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเสริมในการพัฒนาเด็กอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง สถานศึกษาดำเนินการบริหารและจัดการสถานศึกษาที่ครอบคลุมด้านวิชาการ  ด้านครูและบุคลากรด้านข้อมูลสารสนเทศ กิจกรรมพิเศษปฐมวัยตอบสนองนโยบาย และตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา การดำเนินการบริหารและจัดการสถานศึกษาที่ครอบคลุม ด้านครูและบุคลากรด้านข้อมูลสารสนเทศ  ด้านสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ และด้านระบบประกันคุณภาพภายใน การพัฒนาครู  เนื่องจากครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นผู้มีความสำคัญในการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะการส่งครูไปอบรมในเรื่องต่างๆเพื่อนำความรู้มาจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การจัดทำสื่อการเรียนการสอนในระดับปฐมวัยโดยใช้วัสดุที่มีความปลอดภัยต่อตัวเด็กและให้เพียงพอกับจำนวนเด็ก การจัดหาสื่อเทคโนโลยีที่มีความทันสมัย และฝึกให้เด็กได้ใช้สื่อเทคโนโลยีในการนำเสนอผลงานทางศิลปะ เช่น การใช้ไมโครโฟนในการนำเสนอผลงานศิลปะของตนเองให้เพื่อและครูฟัง การดำเนินการบริหารและจัดการสถานศึกษาที่ครอบคลุมด้านวิชาการ  ด้านครูและ

บุคลากรด้านข้อมูลสารสนเทศ กิจกรรมพิเศษปฐมวัยตอบสนองนโยบาย และตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาการจัดทำวิจัยในชั้นเรียนเทอมละ 1 ครั้ง เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนในบริบทของชั้นเรียน การจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่ในรูปของกิจกรรมบูรณาการผ่านการเล่น โดยที่การเล่นดังกล่าวต้องไม่ใช่การเล่นโดยไม่มีจุดมุ่งหมาย การจัดทำสื่อการเรียนการสอนที่หลากหลายและจัดหาสื่อเทคโนโลยีที่มีความทันสมัย ฝึกให้เด็กได้ใช้สื่อเทคโนโลยีในการส่งชิ้นงาน ส่งผลงาน

 

สรุปผลการประเมินในภาพรวม ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาอยู่ในระดับ  ยอดเยี่ยม   จากผลการดำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดมาตรฐาน

 

มาตรฐานที่ 1  คุณภาพของผู้เรียน  (ดีเลิศ)

             นักเรียนมีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบรรลุตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดทุกสาระการเรียนรู้ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยู่ในระดับดีขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 81.25 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนอยู่ในระดับดีขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 78.96 ผลการทดสอบการอ่าน RT ป.1 สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศทั้ง 2 ด้าน ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิชาภาษาไทย และภาษาอังกฤษ มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ  รักความเป็นไทย มีความภูมิใจในท้องถิ่น นักเรียนรักธรรมชาติร่วมกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ร่วมอนุรักษ์พันธุ์ไม้ ช่วยกันคัดแยกขยะที่บ้าน  สร้างชิ้นงานนวตกรรมจากขยะ  นักเรียนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ชอบเล่นกีฬา รักการออกกำลังกาย  กล้าแสดงออก กล้าแสดงความคิดเห็น เคารพในการแสดงความคิดเห็นของผู้อื่น นักเรียนสามารถเล่นเครื่องดนตรีไทยได้อย่างน้อยคนละ 1 ชิ้น ร่วมอนุรักษ์ความเป็นไทยโดยการเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ประเพณีไทยประเพณีท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง นักเรียนได้รับโล่รางวัลจากแข่งขันทักษะทางวิชาการ เช่น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โครงการทดสอบความรู้ทางวิชาการ แบบ Online วิชาคณิตศาสตร์ ครั้งที่ 34  บริษัทเสริมปัญญาจำกัด และกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ การประกวดมารยาทไทย สวดมนต์สรรภัญญะ สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดนครศรีธรรมราช กรมการศาสนา ร่วมกับ

มจร.วิทยาเขต นครศรีธรรมราชและวัด สนธิ์ (นาสน) เนื่องในสัปดาห์วันสำคัญทาง พระพุทธศาสนา ระดับชาติ

คิดเป็นร้อยละ 7.51นักเรียนมีทักษะการทำงาน รักการทำงาน มุ่งมั่นในการทำงาน มีความอดทนต่อความลำบาก และมีพื้นฐานด้านอาชีพ ลงมือและปฏิบัติจริง  เช่น อาชีพการปลูกผัก อาชีพค้าขาย อาชีพการทำขนมไทย ขนมประเพณ๊มีความพร้อมในการประกอบอาชีพ มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต นักเรียนมีทักษะพื้นฐานต่องานอาชีพอย่างน้อย 1 อาชีพ เห็นโทษและผลเสียของการประกอบอาชีพที่ผิดกฎหมาย รู้จักประหยัดอดออมโดยการฝากออมทรัพย์ประจำห้อง และการสมัครหุ้นสมาชิกสหกรณ์โรงเรียน นักเรียนรักความเป็นไทย โดยการร่วมกิจกรรมบูรณาการประเพณีไทย และประเพณีท้องถิ่น นักเรียนที่มีความสนใจเรื่องดนตรีไทยเข้าร่วมกิจกรรมค่ายดนตรีไทยช่วงปิดภาคเรียน นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีค่านิยมที่ดี มีความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ ร่วมกิจกรรมตามศาสนาที่ตนนับถือ ไปวัดในวันสำคัญทางศาสนา รักธรรมชาติและร่วมกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้วยการช่วยกันคัดแยกขยะที่บ้าน ประดิษฐ์ของเล่นของใช้จากวัสดุเหลือใช้นักเรียนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงและมีสมรรถนะทางด้านร่างกาย เข้ารับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไวรัสติดเชื้อโคโรนา โควิค -19 มีสุขภาพในช่องปากที่ดี รู้จักการดูแลสุขภาพของตนเองให้ปลอดภัยจากโรคโควิค -19  โดยไม่พบผู้ติดเชื้อในโรงเรียน มีความสุข สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง รักการออกกำลังกายและการเล่นกีฬา

 

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ (ยอดเยี่ยม)

             ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์บริหารงานจัดการอย่างเป็นระบบ ทั้ง 4 ฝ่ายงาน  อาศัยหลักการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ทั้งหน่วยงานภายในและหน่วยภายนอก บริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล มีขอบข่ายงานของบุคลากรที่ชัดเจนที่สามารถนำไปสู่การปฏิบัติงานได้อย่างคล่องตัว มีการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ และมีการประเมินโครงการรายไตรมาสอย่างเป็นระบบ ทุกคนมีส่วนร่วมในการบริหารโครงการที่ตนเองรับผิดชอบ มีการใช้เงินงบประมาณอย่างถูกต้องและคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน มีปฏิทินการปฏิบัติงานของโรงเรียนอย่างชัดเจน มีการมอบหมายในหน้าที่ตามขอบข่ายงาน จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่ตอบสนองมาตรฐานการศึกษา  ดำเนินงานกิจกรรม โครงการ ตามแผนปฏิบัติการประจำปี ติดตามตรวจสอบ และรายงานผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องใช้จ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติการประจำปีอาคารเรียนและห้องปฎิบัติการมีความมั่นคง เหมาะสม สภาพแวดล้อมเป็นธรรมชาติน่าอยู่ สะอาด เรียบร้อย  มั่นคง สะดวก ปลอดภัย เหมาะสม และเอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนและชุมชน ทุกภาคส่วนให้ความร่วมมือในการจัดศึกษาในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิค-19 เช่น สนับสนุนหน้ากากอนามัย แจลแอลกอฮอล์ ทุนการศึกษา และสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนด้วยการบริจาค เงิน กระเบื้องปูพื้น สีทาภายใน เป็นต้นมีแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้ เช่น ห้องเรียนห้องคอมพิวเตอร์ ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องดนตรีไทย ห้องสมุด แปลงเกษตร สวนพฤกษศาสตร์  เป็นต้นครูได้รับการนิเทศการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ ครูและบุคลากรได้รับการอบรมเพื่อพัฒนาตนเอง  ครูมีความรู้ความสามารถในการเป็นผู้นำทางวิชาการ ครูทุกคนมีความสามารถในการเป็นวิทยากรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้ต่างๆได้ตามความถนัด ให้การสนับสนุนครูและบุคลากรโรงเรียนอื่นๆในการพัฒนาวิชาชีพ บุคลากรได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ มีครูครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตรงตามสาขาวิชาเอก หรือ ตรงตามความถนัด

 

มาตรฐานที่ 3  กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ   (ดีเลิศ)

              ครูเข้าใจหลักสูตรและสามารถจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา  นำหลักสูตรเข้าสู่การจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้สอนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสติดเชื้อโคโรนา โควิค - 19 ได้อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้ข้อจำกัดบางประการ ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสติดเชื้อโคโรนา โควิค - 19 ได้ทุกรูปแบบตามความพร้อมของนักเรียน และโดยความยินยอมของผู้ปกครอง ครูมีคลิปการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งผู้เรียนสามารถศึกษาและเรียนรู้เองที่บ้านได้ ครูจัดทำสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ใบงาน ใบงานความรู้ ชิ้นงาน รวมถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆที่น่าสนใจ สร้างแรงจูงใจในการเรียน มีความตั้งใจและทุ่มเทในการจัดกระบวนการเรียนรู้ การดูแลนักเรียทั้งในเวลาราชการและนอกเวลาราชการ ครูคอยแนะนำและให้คำปรึกษานักเรียนด้วยความเต็มใจทั้งเรื่องการเรียนและความเป็นอยู่อื่นๆ เพื่อให้กำลังและแก้ปัญหาให้กับนักเรียน และนักเรียนได้รับการแก้ปัญหาเบื้องต้นได้ทันท่วงที

 

แนวทางการพัฒนาในอนาคตเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

            จัดกิจกรรมสอนเสริมอย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมความพร้อมของนักเรียนในการทดสอบ NT  และ

O-NET ใช้กิจกรรมการสอนแบบโครงงานให้ครบทุกวิชา เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิด การคิดอย่าง  มีวิจารณญาณ และการคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบจัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิดคำนวณ การนำทักษะการคิดคำนวณไปใช้ในชีวิตประจำวัน จัดกิจกรรมสนับสนุนส่งเสริม เช่นการประกวดนวัตกรรมในสถานศึกษา และการส่งประกวดนวัตกรรมหรือสิ่งประดิษฐ์กับหน่วยงานภายนอก  ส่งเสริมการออกกำลังกาย ที่นักเรียนสามารถทำได้เองที่บ้าน

            จัดโครงการหรือกิจกรรมเพิ่มเติมในการเชิญชวน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานอื่นๆ ในการระดมเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษา ติดต่อประสานงานอย่างต่อเนื่องจัดให้มีสมาคมศิษย์เก่า ที่เข้มแข็งสามารถสนับสนุนและให้วามร่วมมือในการพัฒนาโรงเรียน และการแก้ปัญหาต่างๆที่อาจเกิดขึ้น

              อบรมให้ความรู้เกี่ยวการจัดการเรียนรู้ในระบบออนไลน์ ในรูปแบบต่างๆเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและความจำเป็นในอนาคต ระดมทุนสนับสนุนนักเรียนที่ไม่มีอุปกรณ์ในการเรียน ON LINE สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนรูปแบบสเต็มศึกษาในสาระการเรียนรู้ที่สามารถบูรณาการได้

 

 

 

 

 

       แบบสรุป

ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย

เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาปีการศึกษา 2564

 

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ระดับคุณภาพ

กำลังพัฒนา

ปานกลาง

ดี

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

มาตรฐานที่ 1  คุณภาพของเด็ก

 

 

 

P

 

มาตรฐานที่  2  กระบวนการบริหารและการจัดการ

 

 

 

 

P

มาตรฐานที่  3  การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ

 

 

 

P

 

สรุปผลการประเมินโดยภาพรวมของสถานศึกษา(ร้อยละ 90.20)

 

 

 

 

P

 

แบบสรุป

ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาปีการศึกษา 2564

 

 

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ระดับคุณภาพ

กำลังพัฒนา

ปานกลาง

ดี

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

มาตรฐานที่  1  คุณภาพของผู้เรียน

 

 

 

P

 

มาตรฐานที่  2  กระบวนการบริหารและการจัดการ

 

 

 

 

P

มาตรฐานที่  3  กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

 

 

 

P

 

สรุปผลการประเมินโดยภาพรวมของสถานศึกษา(ร้อยละ 90.06)

 

 

 

 

P

 

หมายเหตุ สรุปภาพรวมของสถานศึกษาอยู่ในระดับยอดเยี่ยม(ร้อยละ 90.13)

 

 

ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยเทียบกับค่าเป้าหมาย

เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

…………………………………………………………..

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา

ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/

ประเด็นการพิจารณา

 

ผลการประเมิน

สรุปผล

การประเมิน

มาตรฐานที่  1  คุณภาพของเด็ก

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

1.1 มีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้

ดีเลิศ

ดีเลิศ

ผ่าน

1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้

ดีเลิศ

ดีเลิศ

ผ่าน

1.3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม

ดีเลิศ

ดีเลิศ

ผ่าน

1.4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้

ดี

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

มาตรฐานที่  2  กระบวนการบริหารและการจัดการ

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ

ดีเลิศ

ดีเลิศ

ผ่าน

2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

(ต่อ)

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา

ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/

ประเด็นการพิจารณา

 

ผลการประเมิน

สรุปผล

การประเมิน

มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ

ดีเลิศ

ดีเลิศ

ผ่าน

3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย

ดีเลิศ

ดีเลิศ

ผ่าน

3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

 

 

 

 

 

 

 

 

ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

......................................................................................................................................................................................................................................

 

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา

ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/

ประเด็นการพิจารณา

 

ผลการประเมิน

สรุปผล

การประเมิน

มาตรฐานที่  1  คุณภาพของผู้เรียน

ดีเลิศ

ดีเลิศ

ผ่าน

1.1  ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน

ดีเลิศ

ดีเลิศ

ผ่าน

     1)  มีความสามารถในการอ่าน  การเขียน  การสื่อสารและการคิดคำนวณ

ดีเลิศ

ดีเลิศ

ผ่าน

     2)  มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ  อภิปราย  แลกเปลี่ยนความคิดเห็น  และแก้ปัญหา

ดีเลิศ

ดีเลิศ

ผ่าน

     3)  มีความสามารในการสร้างนวัตกรรม

ดี

ดี

ผ่าน

     4)  มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ  และการสื่อสาร

ดีเลิศ

ดีเลิศ

ผ่าน

     5)  มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา

ดีเลิศ

ดีเลิศ

ผ่าน

     6)  มีความรู้  ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

1.2  คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

     1)  การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

     2)  ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย

ยอดเยี่ยม

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

     3)  การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

     4)  สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

 

 

 

(ต่อ)

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา

ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/

ประเด็นการพิจารณา

 

ผลการประเมิน

สรุปผล

การประเมิน

มาตรฐานที่  2  กระบวนการบริหารและจัดการ

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

2.1  การมีเป้าหมาย  วิสัยทัศน์  และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

2.2  มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

2.3  ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสุตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย

ดีเลิศ

ดีเลิศ

ผ่าน

2.4  พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

2.5  จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคูณภาพ

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

2.6  จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้

ดีเลิศ

ดีเลิศ

ผ่าน

มาตรฐานที่  3  กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

3.1  จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง  และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

ดีเลิศ

ดีเลิศ

ผ่าน

3.2  ใช้สื่อ  เทคโนโลยีสารสนเทศ  และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

3.3  มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

4.4  ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ  และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

3.5  มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

ดี

ดีเลิศ

ผ่าน

สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

ผ่าน

 

 

สรุปผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ปีการศึกษา ๒๕๖๔

        

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา

ผลการประเมิน

สรุปผล

มาตรฐานที่    คุณภาพของผู้เรียน

.๔๗

ดีเลิศ

๑.๑  ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน

.๑๖

ดีเลิศ

     ๑)  มีความสามารถในการอ่าน  การเขียน  การสื่อสารและการคิดคำนวณ

.๒๑

ดีเลิศ

     ๒)  มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ  อภิปราย  แลกเปลี่ยนความคิดเห็น  และแก้ปัญหา

.๐๐

ดีเลิศ

     ๓)  มีความสามารในการสร้างนวัตกรรม

.๕๐

ดี

     ๔)  มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ  และการสื่อสาร

.๑๔

ดีเลิศ

     ๕)  มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา

.๒๑

ดีเลิศ

     ๖)  มีความรู้  ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ

.๙๒

ยอดเยี่ยม

๑.๒  คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

.๗๗

ยอดเยี่ยม

     ๑)  การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด

.๙๒

ยอดเยี่ยม

     ๒)  ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย

.๖๒

ยอดเยี่ยม

     ๓)  การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

.๗๗

ยอดเยี่ยม

     ๔)  สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม

.๗๗

ยอดเยี่ยม

มาตรฐานที่    กระบวนการบริหารและจัดการ

.๕๖

ยอดเยี่ยม

๒.๑  การมีเป้าหมาย  วิสัยทัศน์  และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน

.๙๒

ยอดเยี่ยม

๒.๒  มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา

.๖๒

ยอดเยี่ยม

๒.๓  ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสุตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย

.๑๕

ดีเลิศ

๒.๔  พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

.๗๗

ยอดเยี่ยม

๒.๕  จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคูณภาพ

.๕๔

ยอดเยี่ยม

๒.๖  จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้

.๓๘

ดีเลิศ

 

 

 (ต่อ)

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา

ผลการประเมิน

สรุปผล

มาตรฐานที่    กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

.๔๘

ยอดเยี่ยม

๓.๑  จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง  และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

.๑๕

ดีเลิศ

๓.๒  ใช้สื่อ  เทคโนโลยีสารสนเทศ  และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้

.๕๔

ยอดเยี่ยม

๓.๓  มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก

.๘๕

ยอดเยี่ยม

๔.๔  ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ  และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน

.๕๔

ยอดเยี่ยม

๓.๕  มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

.๓๑

ดีเลิศ

สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา

.๕๐

ยอดเยี่ยม

 

สรุปผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ปีการศึกษา ๒๕๖๔

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา

ผลการประเมิน

สรุปผล

มาตรฐานที่    คุณภาพของเด็ก

.๒๕

ดีเลิศ

๑.๑ มีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้

ยอดเยี่ยม

๑.๒ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้

ดีเลิศ

๑.๓ มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม

ดีเลิศ

๑.๔ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้

ดีเลิศ

มาตรฐานที่    กระบวนการบริหารและการจัดการ

.๘๓

ยอดเยี่ยม

๒.๑ มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น

ยอดเยี่ยม

๒.๒ จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน

ยอดเยี่ยม

๒.๓ ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์

ยอดเยี่ยม

๒.๔ จัดสภาพแวดล้อมและสื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ

ดีเลิศ

๒.๕ ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์

ยอดเยี่ยม

 

(ต่อ)

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา

ผลการประเมิน

สรุปผล

มาตรฐานที่    กระบวนการบริหารและการจัดการ

.๘๓

ยอดเยี่ยม

๒.๖ มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม

ยอดเยี่ยม

มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ

.๕๐

ยอดเยี่ยม

๓.๑ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ

ดีเลิศ

๓.๒ สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข

ยอดเยี่ยม

๓.๓ จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย

ดีเลิศ

๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก

ยอดเยี่ยม

สรุปผลการประเมินในภาพรวม

.๕๓

ยอดเยี่ยม

 

 

 



ข่าวประชาสัมพันธ์ 5 อันดับล่าสุด

     เผยแพร่รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านควนอารี 15 มิ.ย. 2565
     แบบรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านบ้านพรุใหญ่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2 14 มิ.ย. 2565
     เผยแพร่รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564 14 มิ.ย. 2565
     การเผยแพร่รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖4 13 มิ.ย. 2565
     เผยแพร่รายงานการประเมินตนเอง SAR ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านทุ่งศาลา 13 มิ.ย. 2565


ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2
My Office V 6.4 - 2018 Copyright @T&T-2018 All rights reserved.