f สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2
[x] ปิดหน้าต่างนี้
T&T-2018 All rights reserved ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ สพป.ตรัง เขต 2.

เรื่อง : เผยแพร่รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2564
ผู้เขียน : โรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะ
วันที่   17   พฤษภาคม   2565
เข้าชม : 239
Bookmark and Share


 บทสรุปของผู้บริหาร รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ชื่อโรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะ ที่อยู่ 64 หมู่ที่ 4 ต าบลเกาะลิบง อ าเภอกันตัง จังหวัดตรัง 92140 สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต ๒ ชื่อผู้บริหารโรงเรียน นายอนุรักษ์ สุเหร็น เบอร์โทรศัพท์ 064-189-3415 เปิดสอนระดับชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จ านวนบุคลากรทั้งหมด ๒๕ คน จ านวนนักเรียนทั้งหมด ๔๕๕ คน ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 1. ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐาน ระดับคุณภาพ ๑ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ๒ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ดีเลิศ ๓ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็น ส าคัญ มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ผลการประเมินอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ๑.๑ กระบวนการพัฒนา โรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะได้มีการจัดประสบการณ์ที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีสุขนิสัยที่ดี ดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ผ่านการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ online และ on hand โดยครูประจ าชั้นร่วมกับผู้ปกครองดูแลอย่างใกล้ชิด มีการให้ความรู้และข้อแนะน าแก่ ผู้ปกครอง ให้จัดอาหารที่มีประโยชน์ สะอาด และถูกหลักโภชนาการ และจัดน้ าดื่มให้เด็กอย่างเพียงพอ ครูมี การสร้างแรงจูงใจในการบริโภคอาหาร ที่มีคุณค่า ด้วยหน่วยการเรียนรู้อาหารดีมีประโยชน์ มีการประเมิน ภาวะการเจริญเติบโตเป็นประจ าทุกภาคเรียนและ ได้รับการตรวจสุขภาพประจ าปีทุกคน โดยความร่วมมือจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ าต าบล มีการชั่งน้ าหนัก และวัดส่วนสูงเด็ก ภาคเรียนละ ๒ ครั้ง ซึ่งผู้ปกครอง เป็นผู้น าเด็กไปตามช่วงเวลาที่ก าหนดโดยปฏิบัติตามมาตรการ ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ รวมทั้งนักเรียนได้รับการปลูกจิตส านึกในเรื่องการดูแลสุขภาพ การป้องกันตนเองและผู้อื่นจากโรคติดต่อต่างๆ การออกก าลังกายอย่างสม่ าเสมอ ได้รับการส่งเสริมทักษะด้านการเคลื่อนไหวเต็มตามศักยภาพ ๑.๒ ผลการพัฒนา ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลส่งเสริมสุขภาพพลานามัยของบุตรหลาน และมีการประสาน สัมพันธ์กับครูในการแก้ปัญหา และส่งเสริมพัฒนาด้านสุขภาพร่างกายของบุตรหลานอย่างต่อเนื่อง โดยคุณครู สามารถติดตามได้จากการส่งงานผ่านทางไลน์กลุ่มห้องเรียน เช่น คลิปวิดีโอ ภาพถ่ายการท ากิจกรรม ต่างๆ ใบงาน ผ่านทางไลน์กลุ่มห้องเรียน เด็กมีความรู้ความเข้าใจและสามารถเลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่าต่อ สุขภาพร่างกายได้เป็นอย่างดีผลการประเมินได้น้ าหนักและส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์เด็กปฐมวัยของ โรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะ มีทักษะการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก ได้อย่างคล่องแคล่วสัมพันธ์กันและ เหมาะสมกับวัย จากการท าโครงการ/กิจกรรมต่างๆของโรงเรียนที่เรียนรู้ด้วยรูปแบบ online และ on hand ส่งผลให้ เด็กมีอารมณ์ ร่าเริงแจ่มใส ทั้งเวลาเล่นและการเรียนรู้ เด็กมีความภาคภูมิใจกับผลงานและกิจกรรมที่ร่วม ด าเนินการ จากการจัดโครงการ/กิจกรรม ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริง ความส าเร็จจึงเกิดขึ้นเป็น รูปธรรม ดังนี้ - เด็กสามารถเรียน ท ากิจกรรม และกล้าแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ - เด็กเกิดการเรียนรู้และท ากิจกรรมได้อย่างมีความสุข สนุกสนาน - เด็กสนใจเข้าร่วมกิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึ้นอย่างต่อเนื่อง - เด็กสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย เด็กกล้าแสดงออกในการสนทนากับเพื่อน ครู และผู้ปกครองโดยการพูดคุยในขณะที่มารับการบ้านที่ห้องเรียน ๑.๓ จุดเด่น เด็กมีร่างกายเติบโตตามวัย มีน้ าหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย สามารถดูแล สุขภาพ และหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึง ประสงค์ มีจิตส านึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ท างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีอารมณ์ แจ่มใส ร่าเริง สนุกสนาน ร่วมกิจกรรมอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีสติปัญญาเรียนรู้ได้ตามกิจกรรม ประจ าวันอย่างดี ๑.๔ จุดที่ควรพัฒนา การพัฒนาปลูกฝังในเรื่องสุขนิสัยที่ดี เช่น การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร ล้างมือก่อนออกจาก ห้องน้ า ห้องส้วม และการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้เป็นนิสัย การจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ส าหรับเด็กที่มีน้ าหนักเกินเกณฑ์และน้อยกว่าเกณฑ์ เช่น ส่งเสริมการออกก าลังกาย การเล่นกลางแจ้ง การ เสริมแรงในการ รับประทานอาหารหลัก 5 หมู่ การยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติการใช้วาจาสุภาพเหมาะสมกับ วัย เช่น การใช้ค าพูด ขอบคุณ ขอโทษ ด้านการมีความคิดรวบยอด การแก้ปัญหาที่เกิดจากการอ่าน การท า กิจกรรมเสริมทักษะด้านสติปัญญาให้เหมาะสมตามวัย ๑.๕ แผนการด าเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น ๑. จัดท าโครงการจัดการศึกษาปฐมวัย ๒. จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้านของเด็กปฐมวัย ๓. จัดกิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยเพื่อส่งเสริมกระบวนการคิดวิทยาศาสตร์ ๔. จัดกิจกรรมเล่านิทานให้ลูกฟัง ประชุมผู้ปกครอง กิจกรรมบัณฑิตน้อย ให้ผู้ปกครองและชุมชนมี ส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ผลการประเมินอยู่ในระดับ ดีเลิศ ๒.๑ กระบวนการพัฒนา การจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะ ได้มีการก าหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ของ สถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน มีองค์ประกอบที่ส าคัญเพื่อที่จะขับเคลื่อนการศึกษาระดับปฐมวัยได้แก่ การ พัฒนาวิชาการที่ เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ได้มีการพัฒนาหลักสูตร การศึกษาปฐมวัยให้สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น พิจารณาจากวัยของเด็ก ประสบการณ์ของเด็ก โดยเป็น หลักสูตรที่มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้าน ทั้งด้าน ร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา เพื่อให้ผู้เรียนมีความสุข ในการเรียนรู้ มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีศักยภาพ ส าหรับด้านระบบกลไกการเสริมสร้างความตระหนัก รับรู้ และความเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย โดยให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายได้มีบทบาทในการมีส่วนร่วมการจัด การศึกษา โดยให้มีการประสานความร่วมมือเพื่อร่วมกันพัฒนา ผู้เรียนตามศักยภาพ มีหลักสูตรปฐมวัยที่ ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาเป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเตรียมความ พร้อม เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองสอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น จัดครูให้เหมาะสมกับภารกิจการเรียนการสอนหรือจัดครูที่จบการศึกษาปฐมวัยหรือผ่านการอบรม การศึกษาปฐมวัยอย่างพอเพียงกับชั้นเรียน จัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนโดยค านึงถึงความ ปลอดภัยและมีสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างเพียงพอตามมุมประสบการณ์อย่างน้อย ๔ มุม ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ เล่นเป็นรายบุคคลและกลุ่ม เล่นแบบร่วมมือร่วมใจ มีสื่อการเรียนรู้ สื่อจากธรรมชาติ สื่อเทคโนโลยี สื่อเพื่อการ สืบเสาะหาความรู้ พร้อมทั้งจัดสิ่งอ านวยความสะดวก โดยมีเครื่องเล่นสนามที่ปลอดภัยและมีความแข็งแรง เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทั้ง ๔ ด้าน ๒.๒ ผลการพัฒนา โรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะมีหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยที่เกิดจาก ความต้องการของทุกภาคส่วนและ สนองตอบต่อการเรียนรู้ และความสนใจรวมถึงทักษะตามศักยภาพของผู้เรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างแท้จริง ส่งผลให้หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนสอดคล้องกับปรัชญาหลักการ เป้าหมายการศึกษาปฐมวัยและ เป็นไปตามความสนใจของผู้เรียน และความต้องการของทุกภาคส่วน ได้จัดท าแผนเพื่อพัฒนาสถานศึกษาโดย ได้จัดโครงสร้างการบริหารงานแต่ละฝ่าย ได้อย่างชัดเจนและมีประสิทธิภาพ ด าเนินงานมอบหมายงานให้กับ บุคลากรตรงตามศักยภาพความสามารถและมีครูจ านวนเพียงพอต่อชั้นเรียน ครูปฐมวัยสามารออกแบบการจัด ประสบการณ์เรียนรู้ได้อย่างถูกต้องหลากหลาย ครูมีความรู้ความเข้าใจในการประเมินพัฒนาการเด็กเป็น รายบุคคลด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูสามารถน าผลการประเมินใช้เป็นสารสนเทศ เพื่อแก้ไขพัฒนาการจัด ประสบการณ์ให้กับเด็กรายบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการด าเนินการพัฒนาสื่อและสิ่งแวดล้อมโดยครู ปฐมวัย ท าการวิเคราะห์หาข้อมูลในการที่จะผลิตสื่อ/จัดหาสื่อ/แหล่งเรียนรู้ เพื่อน ามาใช้จัดประสบการณ์ ให้กับเด็ก และส ารวจสื่อ แหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ในห้องเรียน นอกห้องเรียน บริเวณสถานที่ที่เป็นมุมอับที่รกๆ ต่างๆ ถูกปรับเปลี่ยนเป็นแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย มีกระบวนพัฒนาที่ส่งผลให้ครูปฐมวัย โรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะ มีความรู้ความสามารถเข้าใจและมีทักษะในด้านต่างๆ อาทิเช่น การใช้สื่อ ICT สู่การ เรียนรู้ การผลิตสื่อเพื่อส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ต่างๆ การสร้างสรรค์สื่อการเรียนรู้เพื่อการประกัน คุณภาพการศึกษา เด็กได้รับประสบการณ์ผ่านสื่อเทคโนโลยีและการสื่อสารอย่างมีความสุข พัฒนาการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมองของเด็กปฐมวัย มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริม พัฒนาการด้านต่างๆ โรงเรียนมีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ครู ผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองเครือข่าย มีส่วนร่วมในการบริหารงาน โดยมีการประชุมชี้แจงนโยบายการจัดการศึกษาและ พัฒนาการเด็ก ท าให้การบริหารงานมีความคล่องตัวสูง และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมได้กับสถานการณ์ มีการ ประกันคุณภาพภายในที่ด าเนินงานอย่างต่อเนื่องเป็นปัจจุบัน ๒.๓ จุดเด่น โรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะมีหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับ บริบทของท้องถิ่น และเกิดจากความต้องการของทุกภาคส่วน ครูทุกคนมีความรู้ความสามารถในการจัด ประสบการณ์และกิจกรรมประจ าวัน ใช้สื่อและเครื่องมือวัดประเมินพัฒนาการได้อย่างหลากหลาย มีการ รวบรวมข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล และน าผลการประเมินมาพัฒนาเด็กอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นเด็กเป็น ส าคัญ มีสภาพแวดล้อมที่เป็นแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย เช่น ห้องสมุด ห้องวิทยาศตร์ ห้องคหกรรม ห้อง คอมพิวเตอร์ สนามเด็กเล่น และมีสื่อตามมุมประสบการณ์การต่างๆอย่างหลากหลาย เพียงพอให้เด็กได้เรียนรู้ มีสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ทั้งภายในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน เพื่อให้เด็กมีความกระตือรือร้นใน การเรียนรู้ และได้รับประสบการณ์ตรงผ่านสื่อต่างๆ อย่างมีความสุข คณะครูบุคลากรมีความรู้ความสามารถใน การบริหารงาน ตลอดจนได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่ง จากคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน ท า ให้การ บริหารงานมีความคล่องตัวสูงปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมกับสถานการณ์ ๒.๔ จุดที่ควรพัฒนา โรงเรียนจะต้องท าการประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยเพื่อปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรให้มี ประสิทธิภาพและน าไปใช้สอนในปีต่อไป มีจ านวนครูที่สอนระดับปฐมวัยเพียงพอต่อชั้นเรียน ควรจัดสรรหรือ บรรจุแต่งตั้งบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถให้สอนตรงตามวิชาเอก/โท เช่น เอกปฐมวัย เพื่อจัดประสบ การณ์แก่ผู้เรียนให้สอดคล้องกับพัฒนาการครบทั้ง ๔ ด้าน และจัดอบรมสัมมนาให้แก่ครูที่ไม่มีวุฒิการศึกษา ทางด้านปฐมวัย ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสอนในระดับปฐมวัย คุณครูควรได้รับการพัฒนา ฝึกอบรม ทักษะเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Online การผลิตสื่อเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดกิจกรรมเรียนรู้ ในยุค ศตวรรษที่ 21 และควรจัดท าข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างระบบการบริหารงาน เผยแพร่ไว้ในเอกสารต่างๆ ให้ ชุมชนได้รับทราบอย่างต่อเนื่องและชัดเจนๆ ๒.๕ แผนการด าเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น ๑. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ๒. การจัดหาสื่อ พัฒนาจัดระบบการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ และ การจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม ๓. พัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคม ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ และมีความปลอดภัย ๔. การพัฒนาสถานศึกษาให้มีการประกันคุณภาพภายใน มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นส าคัญ ผลการประเมินอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ๓.๑ กระบวนการพัฒนา โรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะได้ให้ความส าคัญอย่างยิ่งกับการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ ด้าน ร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญา อย่างสมดุลเต็มศักยภาพ มีความร่วมมือของพ่อแม่ ครอบครัว ชุมชนและผู้เกี่ยวข้องซึ่งเป็นแบบอย่างที่ดี โดยให้ด าเนินการศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หลักสูตรสถานศึกษาและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ประกอบกับ ข้อมูลเด็กรายบุคคลเพื่อน ามาวิเคราะห์ใช้ในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กได้อย่างเต็มตามศักยภาพ ได้สร้าง โอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุขหลากหลายวิธีการ จากการสังเกต ส ารวจ ค้นคว้า ทดลอง และแก้ปัญหาด้วยตนเอง ดังนั้นโรงเรียนจึงได้จัดกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น กิจกรรมวันส าคัญ กิจกรรมศิลปะ การเข้าร่วมโครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย และได้จัดกิจกรรมผ่านการไลฟ์สดทาง เฟสบุ้ค กลุ่มไลน์ เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้เด็กมีความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ครูจัด กิจกรรมบูรณาการเรียนรู้ผ่านการเล่น เน้นพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน โดยบูรณาการในกิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรม กลางแจ้งและเกมการศึกษา โดยครูได้จัดท าคลิป ใบงาน ซึ่งบูรณาการจากหน่วยการเรียนรู้ โรงเรียนได้จัด บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและ เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัยในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับ เด็กได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอก ห้องเรียน การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย จากการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ และการจัดกิจวัตรประจ าวัน ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสอบถาม การส ารวจ และการวิเคราะห์ผลพัฒนาการของเด็ก โดยใช้วิธีการที่หลากหลายให้ผู้ปกครองมี ส่วนร่วมในการส่งคลิปวิดีโอหรือภาพถ่าย ส่งมาในไลน์กลุ่มห้อง เพื่อได้น าผลการประเมินไปพัฒนาศักยภาพ ของเด็กและพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาครูอย่างเพียงพอและทั่วถึง มีการ ก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัดตลักษณ์ที่ สถานศึกษาก าหนด มีการจัดท าแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการด าเนินงานและจัดท ารายงานผล การประเมินตนเองประจ าปี ๓.๒ ผลการพัฒนา - ครูโรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะ ได้มีการวิเคราะห์หลักสูตร การศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕๖๐ และ หลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๖0 ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2562 มาใช้ในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กได้ อย่างถูกต้องสมบูรณ์มีคุณภาพ - ครูปฐมวัยของโรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะ ได้จัดท าการวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคลมาสรุปผลและ น าไปใช้ในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ - ครูปฐมวัยโรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะทุกคนจัดท าแผนการจัดประสบการณ์จากการวิเคราะห์มาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษา ด้วยกิจกรรมที่หลากหลายเหมาะสมกับวัย โดยมีกิจกรรมที่ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญา ได้อย่างสมบูรณ์และมี คุณภาพ - ครูจัดท าสื่อการสอนประสบการณ์โดยบูรณาการตามหน่วยการเรียนรู้ - เด็กได้รับประสบการณ์ตรงจากการท ากิจกรรมหลัก ๖ ประจ าวัน ได้เล่นและเรียนรู้อย่างมีความสุข - เด็กได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมเรียนรู้ลงมือท าตามแผนการจัดประสบการณ์ที่ครูได้จัดชุดสื่อการเรียนรู้ ที่บ้าน - ครูจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในห้องเรียนมีสื่อการเรียนรู้ตาม มุมประสบการณ์อย่างเพียงพอ - ครูผู้สอนน าผลการประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การส่งคลิป การส่งรูปภาพมาในกลุ่มไลน์ห้อง โดยมีผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการน าผลการประเมินและน าผล การประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงวางแผนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กครบทุกด้านต่อไป - ครูจัดท าวิจัยในชั้นเรียนเพื่อใช้ผลในการวางแผนจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กครบ ทุกด้าน - ผู้ปกครองได้รับทราบผลพัฒนาการของเด็กอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้งและได้ให้ความร่วมมือเป็น อย่างดีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันเพื่อปรับปรุงพัฒนาเด็กอย่างสม่ าเสมอ ผู้ปกครองได้ให้ความ ร่วมมืออย่างดีในการพูดคุยสื่อสารตอบกลับแสดงความคิด และบอกเล่าถึงพัฒนาการในการเรียนรู้ของเด็กใน สื่อสารบ้านและโรงเรียน - ครูมีการวิเคราะห์ข้อมูลและบันทึกข้อมูลพัฒนาการเด็กอย่างเป็นระบบครบถ้วนเป็นปัจจุบัน - ครูมีการแลกเปลี่ยนถ่ายทอดกิจกรรมการเรียนรู้การจัดประสบการณ์ที่มีประสิทธิภาพให้ลงไปสู่เด็ก ทุกห้องเรียน ๓.๓ จุดเด่น เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ ผู้ปกครองและชุมชนให้ความร่วมมือดีมาก และ สม่ าเสมอในการส่งเสริมการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ให้กับเด็ก เด็กได้เล่นเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง และลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองอย่างมีความสุข เรียนรู้แบบบูรณาการแบบโครงการและแบบสะเต็มศึกษา เรียนรู้ผ่านสื่อวิดีทัศน์ที่ครูได้จัดท าขึ้น โรงเรียนมีสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมกับเด็กปฐมวัย โรงเรียน มีเครือข่ายผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชนที่ให้ความ ร่วมมือเป็นอย่างดีในการรับฟังและร่วมเสนอแนวคิดการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก ๓.๔ จุดที่ควรพัฒนา สถานศึกษาควรจัดอบรมการวัดประเมินพัฒนาการส าหรับเด็กปฐมวัยให้กับบุคคลากรปฐมวัยทุกคน อย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มความช านาญและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การผลิตสื่อและจัดหาสื่อใช้ประกอบการจัด ประสบการณ์ให้หลากหลายและเพียงพอในการจัดกิจกรรมต่างๆ ให้กับเด็ก สถานศึกษาควรจัดอบรมการจัด ประสบการณ์ส าหรับเด็ก ปฐมวัยรูปแบบต่างๆ ให้กับบุคคลากรปฐมวัยทุกคนอย่างต่อเนื่องเพื่อน ากิจกรรม เทคนิคต่างๆ ที่แปลกใหม่มาพัฒนาการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กได้มากยิ่งขึ้น ๓.๕ แผนการด าเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น - การพัฒนาศักยภาพบุคลกรปฐมวัยด้านการพัฒนาสื่อนวัตกรรมส าหรับเด็กปฐมวัย - การจัดอบรมการวัดประเมินพัฒนาการส าหรับเด็กปฐมวัยให้กับบุคคลากรปฐมวัยทุกคน - จัดหาสื่อใช้ประกอบการจัดประสบการณ์ให้หลากหลายและเพียงพอ 2. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐาน ระดับคุณภาพ ๑ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ดีเลิศ ๒ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ดีเลิศ ๓ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ผลการประเมินอยู่ในระดับ ดีเลิศ ๑.๑ กระบวนการพัฒนา โรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะด าเนินการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน โดยมีกระบวนการพัฒนาด้วยวิธีการที่ หลากหลาย เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ครูจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียนโดยสอดคล้องกับ มาตรฐาน และตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีการออกแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน มีการจัดการ เรียนรู้แบบ Active Learning ทั้งรูปแบบการระดมสมอง การลงมือปฏิบัติจริง การร่วมมือกันเรียนรู้ การใช้ กระบวนการคิด กระบวนการใช้ปัญหาเป็นหลัก โดยโรงเรียนเน้นให้ผู้เรียนสามารถอ่านออกเขียนได้ตั้งแต่ ระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ในระดับชั้นต่อๆ ไปผ่านการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ on line On Demand และ on hand โดยครูประจ าชั้นร่วมกับผู้ปกครองดูแลอย่างใกล้ชิด ส่งเสริมให้ครูทุกคน พัฒนาตนเองให้มีความสามารถในการน าเทคนิควิธีสอนมาใช้ให้เหมาะสมตรงตามศักยภาพของผู้เรียน ใช้สื่อ เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน มีแหล่งเรียนรู้และแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต ระบบนิเวศภายในชุมชน ปราชญ์ชาวบ้านในท้องถิ่น จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการ สื่อสาร สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งโรงเรียนมีการด าเนินการพัฒนาทักษะชีวิต ของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เน้นการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรมที่ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน โดยการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมการ ออกก าลังกายเพื่อสุขภาพอนามัยที่ดี จัดกิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมให้กับนักเรียนทุกระดับชั้น จัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนให้เหมาะสมตามวัย พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมีสมรรถนะที่จ าเป็นในการ ด ารงชีวิต ส่งเสริมให้มีความรู้ด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย และสามารถใช้งานให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาอย่าง แท้จริง มีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยคณะครูออกเยี่ยมบ้าน เพื่อต้องการรู้สภาพปัญหาที่แท้จริงและ ให้ความดูแลช่วยเหลือต่อไป โดยที่ครูทุกคนรับผิดชอบร่วมกัน มีการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด เป็นต้น ๑.๒ ผลการพัฒนา ผู้เรียนสามารถอ่านออกอ่านคล่อง และเขียนได้ตามมาตรฐานการอ่าน การเขียนในแต่ละระดับชั้น มีทักษะในการคิดค านวณ สามารถสื่อสารได้ดี กล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ สามารถสืบค้นข้อมูล แสวงหาความรู้ โดยใช้เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง สามารถวิเคราะห์ จ าแนกแยกแยะได้ว่า สิ่งไหนดี ส าคัญจ าเป็น รวมถึงรู้เท่าทันสื่อและสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้เรียนส่วนใหญ่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาเป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด และมีความก้าวหน้าในผล การทดสอบระดับชาติในระดับชั้น ป.3 ,ป.6 ,ม.3 และ ม.6 ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทักษะอาชีพ และ มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษาในระดับชั้นที่สูงขึ้นหรือการประกอบอาชีพสุจริต ผู้เรียน มีคุณธรรมจริยธรรม เคารพ ในกฎกติกา มีค่านิยมและจิตส านึก ปฏิบัติตามกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีงามของสังคม มีความภูมิใจใน ท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปัญญา ไทย ยอมรับและอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคล ผู้เรียนมีการรักษาสุขภาพกาย โดยการเลือก รับประทานอาหารที่สะอาดและมีประโยชน์ รักการออกก าลังกาย โดยผู้เรียนทุกคนสามารถออกก าลังกายได้ อย่างน้อยคนละ 1 ประเภทสามารถรักษา สุขภาพจิต อารมณ์ สังคมและแสดงออกอย่างเหมาะสม สามารถ อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข ๑.๓ จุดเด่น ผู้เรียนทุกคนอ่านหนังสือออก และอ่านคล่อง รวมทั้งสามารถเขียนเพื่อการสื่อสารได้สามารถใช้ เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยู่ในระดับน่า พอใจ มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (NT) อยู่ในระดับพอใช้และการ ทดสอบระดับชาติการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้น ป.6 ม.3 และ ม.6 พัฒนาขึ้นจากปีการศึกษา 256๓ ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้ าหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีระเบียบวินัย จนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๑.๔ จุดที่ควรพัฒนา ผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานยังมีทักษะในด้านการคิดวิเคราะห์ ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ และทักษะการใช้เทคโนโลยี อยู่ในระดับที่ควรพัฒนาให้สูงขึ้น ๑.๕ แผนการด าเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น - พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ ภาษาอังกฤษ ให้สูงขึ้น โดยเฉพาะเร่งพัฒนาทักษะพื้นฐานการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษให้สามารถสื่อสารกับ ชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามช่วงวัย ที่ส าคัญพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง สังคมชุมชนและสิ่งแวดล้อม - ด าเนินการงานยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ - พัฒนาผู้เรียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดต่างๆ มากขึ้น โดยมีการวางแผน การจัดการเรียนรู้ในทุก กลุ่มสาระการเรียนรู้และมีการประเมินความสามารถ ในการคิดของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ผลการประเมินอยู่ในระดับ ดีเลิศ ๒.๑ กระบวนการพัฒนา โรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะ มีวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายที่ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน มีแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๓ ปี มีการสร้างความรู้ความเข้าใจกันระหว่างผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๓ ปี เพื่อน าไป ปฏิบัติในโรงเรียนได้อย่างชัดเจน มีการจัดระบบการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็น ฐาน มีการก าหนดแนวทางการด าเนินการโดยน าเอาผลการปฏิบัติงานประจ าปี ใช้ระบบวงจรเดมมิ่ง มาเป็น แนวทางในการตรวจสอบ ประเมินการปฏิบัติงาน จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ด าเนินการพัฒนาตามแผนงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ก าหนดไว้ มีการด าเนินการนิเทศ ก ากับ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงาน และสรุปผลการด าเนินงาน ด าเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนอย่าง รอบด้านตามหลักสูตรและทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการนิเทศ ก ากับ ติดตาม ให้ค าแนะน าอย่างหลากหลายแบบ กัลยาณมิตร มีโครงการที่ส่งเสริมวิชาการหลากหลาย คือ โครงการพัฒนาการเรียนการสอนและส่งเสริมการ จัดการเรียนรู้ โครงการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพสู่ความเป็นเลิศ กิจกรรมพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมนิเทศ ภายใน กิจกรรมเข้าค่ายวิชาการ กิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม กิจกรรมบริการสารสนเทศ กิจกรรมห้องสมุด ชวนอ่าน กิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่ กิจกรรมตามหายอดนักอ่าน ผู้เรียนร่วมกิจกรรมตามโครงการได้อย่าง หลากหลาย กล้าท า กล้าคิดกล้าแสดงออก ให้การสนับสนุนและส่งเสริมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เข้าการประชุม อบรม ตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ องค์กรและหน่วยงานอื่น มีการรายงานพัฒนาความก้าวหน้าหลังจากพัฒนา ตามโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา จัดสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ มีความปลอดภัย สะอาดเป็นสังคมน่าอยู่ สังคมแห่งการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการจัดการ เรียนการสอน ด าเนินกิจกรรมตามโครงการพัฒนาอาคาร สถานที่และแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน โครงการวิถี ชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง มีแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนเช่น ห้องสมุด สวนเกษตรพอเพียง ห้อง วิทยาศาสตร์ ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องดนตรี เป็นต้น จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนด้านการ จัดการเรียนการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ จัดคาบเรียน 1 คาบใน 1 สัปดาห์ มีห้อง คอมพิวเตอร์ ห้องเครื่องคอมพิวเตอร์รองรับการจัดการเรียนการสอนทุกชั้นเรียน การบริหารจัดการให้ครู ปฏิบัติงานเรื่องข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียนโดยมอบหมายครูที่มีความรู้ความสามารถ และด าเนินงานตาม โครงการพัฒนาและจัดระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ๒.๒ ผลการพัฒนา จากการบริหารการจัดการศึกษาโดยมีผู้บริหารสถานศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้องกันทุกฝ่ายร่วมมือกัน ท าให้ผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเป็นไปตามเป้าหมายที่โรงเรียนก าหนด นักเรียนสามารถกล้าคิด กล้าท า กล้าแสดงออก ครูมีการ พัฒนาตนเพื่อเกิดการเรียนรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการด้านการเรียนการสอน ๒.๓ จุดเด่น จากความร่วมมือกันของทุกฝ่ายในการบริหารจัดการ ท าให้โรงเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินโรงเรียน คุณภาพประจ าต าบล ส่งผลให้การจัดการศึกษาเป็นที่ยอมรับของชุมชนและนักเรียนมีคุณภาพ ๒.๔ จุดที่ควรพัฒนา ผู้เรียนบางส่วนยังขาดคุณธรรมที่ส าคัญที่ต้องมีการพัฒนา คือ ความรับผิดชอบ เนื่องจากผลการจัดการ เรียนการสอน การประเมินผลการเรียนและการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียน ปรากฏว่าผู้เรียนบางคนยังขาด ความรับผิดชอบ ขาดเรียนบ่อย ไม่เข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งสถานศึกษาต้องหาแนวทางในการบริหารจัดการเพื่อ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนให้เกิดความรับผิดชอบมากขึ้น ๒.๕ แผนการด าเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น - ติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วงสัญญาณอินเตอร์เน็ตที่ครอบคลุมเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงสื่อเทคโนโลยี สารสนเทศ ครูสามารถเข้าใช้บริการเพื่อการจัดการเรียนการสอนได้อย่างทั่วถึง - ติดตั้งระบบการสอน TV , DLTV , DLIT ครบทุกห้องเรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดประสบการณ์ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ผลการประเมินอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ๓.๑ กระบวนการพัฒนา โรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะด าเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และบริบทของโรงเรียน บูรณาการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม โรงเรียนคุณภาพประจ าต าบล โครงการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้และสะเต็มศึกษา โดยมีการวิเคราะห์มาตรฐาน ตัวชี้วัดของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ก าหนดโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ ค าอธิบายรายวิชา จัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย เน้นทักษะ การคิดวิเคราะห์ ครูใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมเทคโนโลยีที่ ทันสมัย ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง จนสรุปองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีการจดบันทึกหลังการสอน และน า สภาพปัญหาในห้องเรียนมาวิเคราะห์ จัดท าวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยส่งเสริมให้ ครูทุกคนท างานวิจัย ในชั้นเรียนปีการศึกษา คนละ 2 เรื่อง ได้รับการประเมินและค าแนะน าโดยคณะกรรมการจากเขตพื้นที่ การศึกษา ๓.๒ ผลการพัฒนา - การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ชัดเจนขึ้น จัดการเรียนการสอน ให้นักเรียนสืบค้น คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง - การส่งเสริมให้ครูเห็นความส าคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญเน้นการสอนแบบ โครงงาน สะเต็มศึกษาและชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) - การพัฒนาบุคลากรโดยส่งเข้ารับการอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานที่ได้รับมอบหมาย ติดตามผล การใช้และผลที่เกิดกับผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง - การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ของชุมชนโดยเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เข้ามาร่วมคิด ร่วมกระท าและร่วมรับผิดชอบมากขึ้น ๓.๓ จุดเด่น ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการคิด ได้ปฏิบัติ จริง มีการใช้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียนได้แสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเอง อย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีแหล่งเรียนรู้ หลากหลายทั้งภายในโรงเรียนและนอกโรงเรียน ๓.๔ จุดที่ควรพัฒนา - ควรน าภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้และการให้ข้อมูล ย้อนกลับแก่นักเรียนทันทีเพื่อนักเรียนน าไปใช้พัฒนาตนเอง - ควรให้ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนรับรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนเพื่อน าไปดูแล ช่วยเหลือ พัฒนาและส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการจัดการศึกษา - ควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ชัดเจนขึ้น จัดการเรียนการสอน ให้นักเรียนสืบค้น คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง -การส่งเสริมให้ครูเห็นความส าคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญเน้นการสอนแบบ โครงงาน สะเต็มศึกษาและชุมชุนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) - การพัฒนาบุคลากรโดยส่งเข้ารับการอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานที่ได้รับมอบหมาย ติดตามผล การใช้และผลที่เกิดกับผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง - การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ของชุมชน โดยเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามาร่วมคิด ร่วมกระท าและร่วมรับผิดชอบมากขึ้น ๓.๕ แผนการด าเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น - การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ชัดเจนขึ้น จัดการเรียนการสอน ให้นักเรียนสืบค้น คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง - การส่งเสริมให้ครูเห็นความส าคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญเน้นการสอนแบบ โครงงาน สะเต็มศึกษาและชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) - การพัฒนาบุคลากรโดยส่งเข้ารับการอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานที่ได้รับมอบหมาย ติดตามผล การใช้และผลที่เกิดกับผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง - การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ของชุมชนโดยเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามาร่วมคิดร่วมกระทำและร่วมรับผิดชอบ



ข่าวประชาสัมพันธ์ 5 อันดับล่าสุด

     เผยแพร่รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านควนอารี 15 มิ.ย. 2565
     แบบรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านบ้านพรุใหญ่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2 14 มิ.ย. 2565
     เผยแพร่รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564 14 มิ.ย. 2565
     การเผยแพร่รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖4 13 มิ.ย. 2565
     เผยแพร่รายงานการประเมินตนเอง SAR ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านทุ่งศาลา 13 มิ.ย. 2565


ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2
My Office V 6.4 - 2018 Copyright @T&T-2018 All rights reserved.